ที่มา Thai E-News
30 สิงหาคม 2555
โลกวันนี้ รายวัน
ปีที่ 13 ฉบับที่ 3368 ประจำวัน พฤหัสบดี ที่ 30 สิงหาคม 2012
คดีเสื้อแดง 98 ศพความสิ้นหวังบนเวที ICC
“แม้นายโรเบิร์ต อัมสเตอร์ดัม ทนายความกลุ่มแนวร่วมประชาธ ิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชา ติ (นปช.) แดงทั้งแผ่นดิน จะแนะนำถึงการยื่นเรื่องเพื ่อขอให้ศาลอาญาระหว่างประเท ศ (ICC) ไต่สวนหาผู้กระทำความผิดจาก เหตุการณ์สลายการชุมนุมเมื่ อเดือน เม.ย.-พ.ค. 2553 แต่เป็นช่องทางที่เหมือนไฟร ิบหรี่”
นั่นเป็นคำพูดของนางพะเยาว์ อัคฮาด มารดาของอาสาพยาบาล กมนเกด อัคฮาด ที่เสียชีวิตในการสลายการชุ มนุม 19 พ.ค. 2553 ที่วัดปทุมวนาราม เป็นการส่งสัญญาณว่าเริ่มสิ ้นหวังกับการให้ ICC รับเรื่องนี้เพื่อไต่สวนหาผ ู้สั่งการฆ่าประชาชน
การเดินทางไปกรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ เมื่อวันที่ 25 มิ.ย. ที่ผ่านมา เพื่อยื่นหลักฐานข้อมูลเพิ่ ม
เติมต่อ ICC ของนางธิดา ถาวรเศรษฐ ประธาน นปช. ล่วงเลยมากว่า 2 เดือนแล้ว
แต่ปฏิกิริยาจาก ICC ยังไม่มีความคืบหน้าอะไร เว้นแต่เปิดช่องให้ยื่นข้อม ูลหลักฐานเพิ่มได้เท่านั้น
ทั้งนี้ เพราะติดเงื่อนไขที่นายกฯยิ ่งลักษณ์ ชินวัตร ยังไม่ลงนามรับรองเขตอำนาจศ าลเพื่อให้ ICC สามารถพิจารณาสำนวนคดีการสล ายการชุมนุมได้
แม้นายสุรพงษ์ โตวิจักษณ์ชัยกุล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่ างประเทศ จะสั่งการให้ผู้เกี่ยวข้องท ำการศึกษาเรื่องนี้ พร้อมให้คำมั่นว่าจะมีข้อสร ุปเรื่องการรับรองเขตอำนาจศ าลเสนอให้คณะรัฐมนตรีในเร็ว วันนี้
แต่ก็เป็นการเทคแอ็คชั่นไม่ ให้เสียคะแนนจากคนเสื้อแดงเ ท่านั้น
ความหวังของญาติผู้สูญเสียท ี่ฝันว่าจะเห็น ICC ไต่สวนเรื่องนี้จึงยังห่างไ กลจากความจริง
จากการตรวจสอบข้อมูลพบว่าปม ปัญหาที่ทำให้ยังไม่สามารถย อมรับเขตอำนาจศาล ICC ได้เป็นเพราะ
1.ไทยได้ลงนามในธรรมนูญกรุง โรมว่าด้วยศาลอาญาระหว่างปร ะเทศ ค.ศ. 1998 เมื่อปี พ.ศ. 2543 แต่ยังไม่ได้ให้สัตยาบันเข้ าเป็นภาคีธรรมนูญกรุงโรม เนื่องจากจำเป็นต้องออกพระร าชบัญญัติอนุวัติพันธกรณีขอ งธรรมนูญกรุงโรมก่อนเพื่อให ้ไทยสามารถปฏิบัติตามพันธกร ณีได้
2.ไทยมีประเด็นอ่อนไหวที่ต้ องพิจารณาเกี่ยวกับข้อ 27 ของธรรมนูญกรุงโรม ซึ่งระบุถึงการไม่สามารถอ้า งสถานะความเป็นประมุขของรัฐ เพื่อไม่ต้องรับผิดทางอาญาต ามธรรมนูญกรุงโรม
ในขณะที่มาตรา 8 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจั กรไทย พ.ศ. 2550 บัญญัติถึงการละเมิดมิได้ และการไม่อาจกล่าวหาหรือฟ้อ งร้องพระมหากษัตริย์ซึ่งมีส ถานะเป็นประมุขของรัฐไม่ว่า ในทางใดๆ
3.ขณะนี้การดำเนินคดีต่อผู้ ถูกกล่าวหาว่ากระทำผิดอยู่ใ นกระบวนการยุติธรรมของไทยแล ้ว ตามหลักกฎหมายของธรรมนูญกรุ งโรม ICC มีเขตอำนาจในฐานะศาลที่เสริ มเขตอำนาจในทางอาญาของรัฐใน กรณีที่รัฐนั้นเป็นภาคีแล้ว จึงไม่สามารถรับคดีไว้พิจาร ณาได้
ถึงแม้ข้อ 12 วรรค 3 ของธรรมนูญกรุงโรมจะระบุให้ รัฐซึ่งมิได้เป็นภาคีธรรมนู ญกรุงโรมอาจยอมรับการใช้อำน าจศาลในส่วนที่เกี่ยวกับอาช ญากรรมที่เป็นปัญหาได้ โดยส่งมอบคำประกาศให้แก่นาย ทะเบียนของ ICC ก็ตาม
4.คณะกรรมการพิจารณาธรรมนูญ ศาลอาญาระหว่างประเทศที่คณะ รัฐมนตรีแต่งตั้งขึ้นเพื่อพ ิจารณาการเข้าเป็นภาคีธรรมน ูญกรุงโรมมีความเห็นว่า การเข้าเป็นภาคีธรรมนูญกรุง โรมจะต้องพิจารณาอย่างละเอี ยดรอบคอบในบางประเด็นที่เป็ นเรื่องสำคัญและอ่อนไหว โดยเฉพาะข้อ 27 ของธรรมนูญกรุงโรมเรื่องการ ไม่สามารถอ้างสถานะความเป็น ประมุขของรัฐในการที่จะไม่ต ้องรับผิดชอบทางอาญาตามธรรม นูญกรุงโรมจำเป็นต้องแก้ไขเ พิ่มเติมกฎหมายภายในที่เกี่ ยวข้อง
เช่น ประมวลกฎหมายอาญาเพื่อเพิ่ม ฐานความผิดร้ายแรงทั้ง 4 ฐานตามธรรมนูญกรุงโรม ได้แก่ อาชญากรรมทำลายล้างเผ่าพันธ ุ์, ต่อมนุษยชาติ, สงคราม, การรุกราน ให้เป็นความผิดในประมวลกฎหม ายอาญาของไทย, พระราชบัญญัติการปฏิบัติเพื ่อความร่วมมือระหว่างประเทศ ในการดำเนินการตามคำพิพากษา คดีอาญา พ.ศ. 2527, พระราชบัญญัติว่าด้วยความร่ วมมือระหว่างประเทศในเรื่อง ทางอาญา พ.ศ. 2535 เพื่อให้รองรับพันธกรณีภายใ ต้ธรรมนูญกรุงโรมได้ครบถ้วน สมบูรณ์
สิ่งเหล่านี้จะต้องได้รับคว ามเห็นชอบจากรัฐสภาก่อนแสดง เจตจำนงให้มีผลผูกพันหรือให ้สัตยาบันตามมาตรา 190 ของรัฐธรรมนูญ จึงถือเป็นอุปสรรคสำคัญของก ารที่จะให้ ICC รับไต่สวนกรณี 98 ศพ
โดยเฉพาะหัวใจสำคัญที่ดูเหม ือนรัฐบาลไม่กล้าแตะ คือการอ้างว่าธรรมนูญกรุงโร มขัดกับมาตรา 8 วรรค 2 ของไทยที่ระบุว่า ผู้ใดจะฟ้องร้องพระมหากษัตร ิย์ในทางใดๆไม่ได้ โดยธรรมนูญกรุงโรมระบุว่า ถ้ากฎหมายภายในให้เอกสิทธิ์ คุ้มกันบุคคลใดๆนั้นอ้างไม่ ได้ในศาลอาญาระหว่างประเทศ
นี่คือเหตุผลว่าทำไมคดี 98 ศพ จึงยังไม่เข้าสู่กระบวนการพ ิจารณาของ ICC เสียที แม้เหตุการณ์จะล่วงเลยผ่านม ากว่า 2 ปีแล้ว
การเอาผิดคนสั่งฆ่าประชาชนจ ึงเป็นเพียงโวหาร วาทะทางการเมือง เพื่อรักษาน้ำใจคนเสื้อแดงเ ท่านั้น
แม้แต่กระบวนการสอบสวนในประ เทศที่มีการเรียกนายอภิสิทธ ิ์ เวชชาชีวะ อดีตนายกรัฐมนตรี นายสุเทพ เทือกสุบรรณ อดีตรองนายกรัฐมนตรีฝ่ายควา มมั่นคงและอดีตผู้อำนวยการศ ูนย์อำนวยการแก้ไขสถานการณ์ ฉุกเฉิน (ศอฉ.) เข้าให้ปากคำ
หรือการเรียก ส.อ.ศฤงคาร ทวีชีพ และ ส.อ.คชารัตน์ เนียมรอด ทหารสังกัด ม.พัน 5 สองทหารประจำจุดซุ่มยิง หรือสไนเปอร์ เข้าให้ปากคำ ก็ไม่มีความหวังใดๆกับการเอ าคนสั่งฆ่ามารับโทษ
กระบวนการทั้งหมดส่อไปในทิศ ทางที่ว่าไม่ได้มุ่งเอาผิดใ คร แต่เป็นการมุ่งไปสู่การปรอง ดอง รอมชอม หรือเกี๊ยะเซียะ เพื่อล้างผิดทุกฝ่ายด้วยการ นิรโทษกรรมเสียมากกว่า
http:// www.dailyworldtoday.com/ newsblank.php?news_id=15924
นั่นเป็นคำพูดของนางพะเยาว์
การเดินทางไปกรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ เมื่อวันที่ 25 มิ.ย. ที่ผ่านมา เพื่อยื่นหลักฐานข้อมูลเพิ่
ทั้งนี้ เพราะติดเงื่อนไขที่นายกฯยิ
แม้นายสุรพงษ์ โตวิจักษณ์ชัยกุล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่
แต่ก็เป็นการเทคแอ็คชั่นไม่
ความหวังของญาติผู้สูญเสียท
จากการตรวจสอบข้อมูลพบว่าปม
1.ไทยได้ลงนามในธรรมนูญกรุง
2.ไทยมีประเด็นอ่อนไหวที่ต้
ในขณะที่มาตรา 8 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจั
3.ขณะนี้การดำเนินคดีต่อผู้
ถึงแม้ข้อ 12 วรรค 3 ของธรรมนูญกรุงโรมจะระบุให้
4.คณะกรรมการพิจารณาธรรมนูญ
เช่น ประมวลกฎหมายอาญาเพื่อเพิ่ม
สิ่งเหล่านี้จะต้องได้รับคว
โดยเฉพาะหัวใจสำคัญที่ดูเหม
นี่คือเหตุผลว่าทำไมคดี 98 ศพ จึงยังไม่เข้าสู่กระบวนการพ
การเอาผิดคนสั่งฆ่าประชาชนจ
แม้แต่กระบวนการสอบสวนในประ
หรือการเรียก ส.อ.ศฤงคาร ทวีชีพ และ ส.อ.คชารัตน์ เนียมรอด ทหารสังกัด ม.พัน 5 สองทหารประจำจุดซุ่มยิง หรือสไนเปอร์ เข้าให้ปากคำ ก็ไม่มีความหวังใดๆกับการเอ
กระบวนการทั้งหมดส่อไปในทิศ
http://