ที่มา Thai E-News
18 กรกฎาคม 2555
โดย ทีมข่าวไทยอีนิวส์
ที่มาเฟซบุ๊ค วีรพัฒน์ ปริยวงศ์
บอกตรงๆ ว่า "รับไม่ได้ครับ"
และ แม้หากรับได้ เราก็ต้อง "ไม่ยอมรับ" ด้วย
การที่ศาล "ชิง" อ่านคำวินิจฉัยไปก่อน แต่พออ่านเสร็จกลับ "ยื้อ"
คำวินิจฉัยไปตรวจแก้ อีก 15 วัน ส่วนคำวินิจฉัยส่วนตน จะลากยาว อีก 60 วัน
!!??
วันนี้ 18 ก.ค. ข่าวหลายสำนัก เช่น http://astv.mobi/A521cnu แจ้งว่า
โฆษกศาล รธน.เผย คำวินิจฉัยกลางของตุลาการศาล รธน.คดีแก้ ม.291 เสร็จแล้ว เหลือเพียงตรวจทานคำผิดเท่านั้น ก่อนส่งเข้าที่ประชุมพิจารณาเห็ นชอบ 25 ก.ค.นี้
โฆษกศาล พูดต่อ: “อยากให้ทุกฝ่ายรออ่านคำวินิจฉั ยให้ชัดเจนอีกครั้ง เชื่อว่าสังคมก็จะเข้าใจ โดยคำวินิจฉัยกลางจะมีการเผยแพร ่ผ่านเว็บไซต์ศาลรัฐธรรมนูญ ซึ่งประชาชนที่สนใจสามารถอ่านแล ะทำความเข้าใจได้ สำหรับคำวินิจฉัยส่วนตนนั้น ยังอยู่ระหว่างการจัดทำของตุลาก ารศาลรัฐธรรมนูญแต่ละคน ซึ่งตามข้อกำหนดวิธีพิจารณาของศ าลรัฐธรรมนูญ กำหนดให้เผยแพร่ภายใน 60 วันนับแต่มีคำวินิจฉัย”
คำพูดเหล่านี้นี้ ต้องจารึกไว้ในประวัติศาสตร์กฎห มายไทย ว่า "พิสดาร" มาก !!!
คำวินิจฉัยทั้งหมด ไม่ว่าจะ "คำวินิจฉัยกลาง" ของศาล หรือ
"คำวินิจฉัยส่วนตน" ของตุลาการแต่ละคน จะต้องทำเสร็จแล้ว
ตั้งแต่ก่อนศาลอ่านไป เมื่อ ศุกร์ 13 ที่ผ่านมา
และต้องผ่านการประชุมเห็นชอบของ ตุลาการที่ลงมติไปแล้วด้วย
หากจะแก้ ก็แก้เฉพาะคำผิดเล็กๆน้อยๆ ก่อนส่งพิมพ์ราชกิจจา ซึ่งความจริงต้องตรวจแก้ให้แล้ว เสร็จก่อนอ่าน หากสะกดผิดพลาดเล็กน้อยก็พอรับไ ด้ กฎเรื่อง 60 วันนั้นมีอยู่จริง แต่ไม่ได้มีไว้เพื่อให้แก้ไขปรั บปรุงหลังอ่านอย่างไรก็ได้นะครั บ !
เราต้องช่วยกันคิดว่า "ศาลรัฐธรรมนูญ" กำลังสร้างแนวปฏิบัติ ที่ขัดต่อรัฐธรรมนูญ และขัดต่อกฎระเบียบที่ศาลกำหนดข ึ้นเอง และเป็นการเพิ่มอำนาจให้ตุลาการ อย่างน่ากลัวมาก หรือไม่ ?
กล่าวคือ ศาลกำลังสร้าง "อำนาจการปรับคำวินิจฉัย"
หลังอ่านคำวินิจฉัยไปแล้ว ไม่ว่าจะทำไปเพื่อเอาใจสังคม
หรือเพื่อโต้แย้งหักล้างข้อวิจา รณ์ให้ชัดขึ้นกว่าสิ่งที่อ่านไป ก็ตาม
ย้ำอีกครั้ง หลายคนหลงผิดไปกับความคิดที่ว่า ศาลยังไม่เผยแพร่ เราไม่ควรวิจารณ์ แต่ผมมองว่า กฎหมายกำหนดชัดเจนว่า
- คำวินิจฉัยส่วนตน ต้องทำเสร็จแล้วก่อนลงมติ
- คำวินิจฉัยกลาง ให้มีผลในวันอ่าน
- คำวินิจฉัยนั้น ศาลปรับแก้ได้ เฉพาะเรื่องผิดพลาดเล็กๆน้อยๆ
ดังนั้น ศาลจึงต้องรับผิดชอบต่อสิ่งที่อ ่านไป และไม่มีอำนาจใดๆ จะไปปรับแก้ หรือลงมติเห็นชอบคำวินิจฉัยอีกร อบได้
หากศาลอ่านไม่ชัด แล้วไปแก้เพิ่มทีหลัง หรือปรับแก้หลังฟังเสียงวิจารณ์ แบบนี้ ผมว่าศาลเอาเปรียบประชาชนครับ
และวันนี้ ผมก็ยังไม่รู้ว่า ศาลลงมติครบทั้ง 4 ประเด็น หรือไม่ !? ตามภาพที่แนบมาด้วย :
*** ฝากทุกท่านช่วยกัน share และช่วยกันคิดครับ ***
เพราะเราไม่รู้ว่า ต้องรออีกนานแค่ไหนกว่าศาลจ ะเผยแพร่คำวินิจฉัย หลายคนหลงผิดไปกับความคิดที ่ว่า ศาลยังไม่เผยแพร่ เราไม่ควรวิจารณ์ แต่ผมมองว่า กฎหมายกำหนดให้คำวินิจฉัยมี ผลในวันอ่าน ศาลจึงต้องรับผิดชอบต่อสิ่ง ที่อ่านไป หากอ่านไม่ชัด แล้วไปแก้เพิ่มทีหลัง แบบนี้ ผมว่าเอาเปรียบประชาชนครับ
และ แม้หากรับได้ เราก็ต้อง "ไม่ยอมรับ" ด้วย
การที่ศาล "ชิง" อ่านคำวินิจฉัยไปก่อน แต่พออ่านเสร็จกลับ "ยื้อ" คำวินิจฉัยไปตรวจแก้ อีก 15 วัน ส่วนคำวินิจฉัยส่วนตน จะลากยาว อีก 60 วัน !!??
วันนี้ 18 ก.ค. ข่าวหลายสำนัก เช่น http://astv.mobi/A521cnu แจ้งว่า
โฆษกศาล รธน.เผย คำวินิจฉัยกลางของตุลาการศาล รธน.คดีแก้ ม.291 เสร็จแล้ว เหลือเพียงตรวจทานคำผิดเท่านั้นก่อนส่งเข้าที่ประชุมพิจารณาเห็ นชอบ 25 ก.ค.นี้
โฆษกศาล พูดต่อ: “อยากให้ทุกฝ่ายรออ่านคำวินิจฉัยให้ชัดเจนอีกครั้ง เชื่อว่าสังคมก็จะเข้าใจ โดยคำวินิจฉัยกลางจะมีการเผยแพร ่ผ่านเว็บไซต์ศาลรัฐธรรมนูญ ซึ่งประชาชนที่สนใจสามารถอ่านแล ะทำความเข้าใจได้ สำหรับคำวินิจฉัยส่วนตนนั้น ยังอยู่ระหว่างการจัดทำของตุลาก ารศาลรัฐธรรมนูญแต่ละคน ซึ่งตามข้อกำหนดวิธีพิจารณาของศ าลรัฐธรรมนูญ กำหนดให้เผยแพร่ภายใน 60 วันนับแต่มีคำวินิจฉัย”
คำพูดเหล่านี้นี้ ต้องจารึกไว้ในประวัติศาสตร์กฎห
คำวินิจฉัยทั้งหมด ไม่ว่าจะ "คำวินิจฉัยกลาง" ของศาล หรือ "คำวินิจฉัยส่วนตน" ของตุลาการแต่ละคน จะต้องทำเสร็จแล้ว ตั้งแต่ก่อนศาลอ่านไป เมื่อ ศุกร์ 13 ที่ผ่านมา และต้องผ่านการประชุมเห็นชอบของ
หากจะแก้ ก็แก้เฉพาะคำผิดเล็กๆน้อยๆ ก่อนส่งพิมพ์ราชกิจจา ซึ่งความจริงต้องตรวจแก้ให้แล้ว
เราต้องช่วยกันคิดว่า "ศาลรัฐธรรมนูญ" กำลังสร้างแนวปฏิบัติ ที่ขัดต่อรัฐธรรมนูญ และขัดต่อกฎระเบียบที่ศาลกำหนดข
กล่าวคือ ศาลกำลังสร้าง "อำนาจการปรับคำวินิจฉัย" หลังอ่านคำวินิจฉัยไปแล้ว ไม่ว่าจะทำไปเพื่อเอาใจสังคม หรือเพื่อโต้แย้งหักล้างข้อวิจา
ย้ำอีกครั้ง หลายคนหลงผิดไปกับความคิดที่ว่า
- คำวินิจฉัยส่วนตน ต้องทำเสร็จแล้วก่อนลงมติ
- คำวินิจฉัยกลาง ให้มีผลในวันอ่าน
- คำวินิจฉัยนั้น ศาลปรับแก้ได้ เฉพาะเรื่องผิดพลาดเล็กๆน้อยๆ
ดังนั้น ศาลจึงต้องรับผิดชอบต่อสิ่งที่อ
หากศาลอ่านไม่ชัด แล้วไปแก้เพิ่มทีหลัง หรือปรับแก้หลังฟังเสียงวิจารณ์
และวันนี้ ผมก็ยังไม่รู้ว่า ศาลลงมติครบทั้ง 4 ประเด็น หรือไม่ !? ตามภาพที่แนบมาด้วย :
*** ฝากทุกท่านช่วยกัน share และช่วยกันคิดครับ ***
เพราะเราไม่รู้ว่า ต้องรออีกนานแค่ไหนกว่าศาลจะเผยแพร่คำวินิจฉัย หลายคนหลงผิดไปกับความคิดที ่ว่า ศาลยังไม่เผยแพร่ เราไม่ควรวิจารณ์ แต่ผมมองว่า กฎหมายกำหนดให้คำวินิจฉัยมี ผลในวันอ่าน ศาลจึงต้องรับผิดชอบต่อสิ่ง ที่อ่านไป หากอ่านไม่ชัด แล้วไปแก้เพิ่มทีหลัง แบบนี้ ผมว่าเอาเปรียบประชาชนครับ