ที่มา thaifreenews
โดย bozo
Read more from สิทธิมนุษยชน
นายฮิโร มูราโมโต นักข่าวช่างภาพรอยเตอร์ชาวญี่ปุ่น วัย 43 ปี
ถูกส่งไปทำข่าวคนเสื้อแดงในกรุงเทพมหานครปี 2553
ซึ่งเป็นเหตุการณ์ดังกล่าวจบลงด้วย
เหตุการณ์นองเลือดสังหารหมู่
http://robertamsterdam.com/thai/?p=174
โดยการใช้กำลังของรัฐบาล
ไม่นานก่อนเวลา 9:00 นาฬิกา ของวันที่ 10 เมษายน 2553
วันแรกของการสังหารหมู่ผู้ชุมนุม
นายมูราโมโตถ่ายภาพวิดีโออยู่ฝั่งทหารบนถนนดินก่อน
ที่จะย้ายไปฝั่งคนเสื้อแดงเพื่อจะบันทึกภาพการปะทะ
นายมูราโมโตถูกยิง
http://www.cpj.org/reports/2010/07/in-thailand-unrest-journalists-under-fire.php
ด้วยกระสุนปืน
ซึ่งคาดว่าเป็นของพลซุ่มยิงเข้าที่รักแร้ซ้ายทะลุผ่านหลัง
เขาถูกนำตัวส่งโรงพยาบาลทันที
แต่เสียชีวิตเนื่องจากเสียเลือดเป็นจำนวนมากจากบาดแผลกระสุนปืน
ต้นฉบับรายงานการสอบสวนการเสียชีวิตของรอยเตอร์ระบุว่า
�คำร้องที่ยื่นต่อศาลอาญาระหว่างประเทศ
http://robertamsterdam.com/thai/?p=683
เพื่อขอให้เริ่มการไต่สวนเหตุการณ์ดังกล่าว จะพบว่า
มีมูลเหตุที่สำคัญทำให้เชื่อว่า
เจ้าหน้าที่รัฐไทยอาจจะมีส่วนรับผิดชอบต่อการสังหารนี้
หลายคนวิจารณ์
http://robertamsterdam.com/thailand/?p=619 และชี้ว่า
ผลการสอบสวนของเจ้าหน้าที่รัฐไทย
เป็นการเย้ยหยันที่เลวร้ายต่อกระบวนการยุติธรรม
http://robertamsterdam.com/thailand/?p=610
ไม่ว่าจะเป็นความล้มเหลวในการทำการสอบสวนอย่างรวดเร็ว
การนำเสนอข้อมูลเท็จ เจตนาทำให้การสอบสวนล่าช้า
และจงใจสร้างกระบวนการเพื่อการันตีว่า
จะไม่ต้องมีผู้ใดรับผิดต่อ
การเสียชีวิตของนายมูราโมโต
http://asiancorrespondent.com/49440/more-criticism-over-dsis-probe-of-killed-japanese-cameraman/ ต้นเดือนมีนาคม
กรมสอบสวนคดีพิเศษไทยประกาศโดยไม่มีคำอธิบายเพิ่มเติมว่า
พวกเขาเปลี่ยนข้อสรุปในผลการสอบสวนก่อนหน้านี้
เรื่องการเสียชีวิตของนายมูราโมโต โดยระบุว่า
กระสุนที่สังหารมูราโมโตอาจมาจากฝั่งทหาร
แต่หลังจากนั้น เมื่อวานนี้ อธิบดีดีเอสไอ นายธาริจ เพ็งดิษฐ์ ประกาศข้อสรุป
ที่ไม่เป็นระเบียบและหลีกเลี่ยงไม่ได้ว่า “เราจะเป็นต้องสรุปในตอนนี้ว่า
กองกำลังของรัฐบาลไม่ได้สังหารนายมูราโมโต
จนกว่ามีหลักฐานใหม่ที่แสดงให้เห็นเป็นอย่างอื่น”
มีบทเรียนสำคัญสองประการจากท่าทีที่ไม่น่าเชื่อถือของดีเอสในคดีมูราโมโต
ประการแรก หากพิจารณาถึงน้ำหนักความสำคัญทางการทูตที่รัฐบาลญี่ปุ่น
ต้องแบกรับในกรณีที่พลเมืองของตนถูกสังหาร
และการที่ญี่ปุ่นลงทุนทางธุรกิจอย่างมหาศาลในประเทศไทยแล้ว
คนทั่วไปอาจทึกทักว่าคดีนี้น่าจะได้รับความสนใจเป็นพิเศษและถูกพิจารณาอย่างเร่งด่วน
แต่ตรงกันข้าม เจ้าหน้าที่รัฐไทยกลับพยายามปัดความรับผิดชอบและล้มเหลว
ที่จะปฏิบัติหน้าที่ในการสอบสวน แล้วอย่างนี้
เราคิดว่ารัฐบาลไทยจะสอบสวนคดีการเสียชีวิตของคนเสื้อแดงธรรมดาคนอื่นอย่างไร?
ประการที่สอง การกระทำของดีเอสไอที่ชี้นำการสอบสวนแสดงให้เห็นชัดเจนว่า
เหยื่อจากการกระทำรุนแรงอันน่าสยดสยองไม่สามารถคาดหวังได้
ตามสมควรต่อกระบวนการตุลาการภายใต้การบริหารงาน
ที่ไม่ความเป็นประชาธิปไตยของรัฐบาลนายกรัฐมนตรีมาร์ค อภิสิทธิ์
ที่จะสอบสวนอาชญากรรมเหล่านี้อย่างเป็นธรรมและเป็นอิสระ
ความจำเป็นที่องค์กรตุลาการระหว่างประเทศจะเข้ามาทำการสอบสวนเรื่องดังกล่าว
จึงเป็นเรื่องที่ไม่สามารถโต้แย้งได้ในจุดนี้
สื่อญี่ปุ่นอ้างคำกล่าวของนายสตีเฟน เจ แอดเลอร์ บรรณาธิการใหญ่ของสำนักข่าวรอยเตอร์
ที่ตอบโต้คำแถลงการณ์ที่ขี้ขลาดของนายธาริต
ด้วยท่าทีที่ไม่เชื่อ รังเกลียด และเจ็บแค้นต่อคำแถลงดังกล่าวว่า
“เมื่อไม่มีข้อสรุปการสอบสวน จึงเป็นเรื่องเร่งด่วนมากกว่าเดิม
ที่จะต้องมีความโปร่งใสในกระบวนการสอบสวนนี้
ผมขอเรียกร้องให้รัฐบาลไทยและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องทุกคน
ทำการสอบสวนอย่างละเอียด เป็นธรรม และพิถีพิถัน” เขากล่าวเพิ่มว่า
“ครอบครัวของนายมูราโมโตและเพื่อนร่วมงานที่รอยเตอร์มีสิทธิ์
ที่จะรู้ว่าโศกนาถกรรมนี้เกิดขึ้นได้อย่างไร และใครอยู่เบื้องหลัง”
นอกจากนี้ กลุ่มพิทักษ์เสรีภาพสื่อ
นักข่าวไร้พรมแดนยังเรียกคำแถลงการณ์ครั้งล่าสุดว่า
“ไม่น่าพอใจเป็นอย่างมาก”
http://en.rsf.org/thailand-erratic-investigation-yields-25-03-2011,39873.html
นักข่าวไร้พรมแดนระบุว่ากรณีการสอบสวนของทางการเกี่ยวกับการเสียชีวิต
ของนักข่าวช่างภาพฮิโร มูราโมโตรที่เกิดขึ้น
ในระหว่างการปะทะระหว่างรัฐบาลและกลุ่มต่อต้านรัฐบาล “คนเสื้อแดง”
ในกรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 10 เมษายน 2553 ว่า
“ไม่น่าพอใจเป็นอย่างมาก”
หนึ่งปีหลังจากเหตุการณ์ ข้อสรุปเบื้องต้นที่ระบุว่า
หน่วยงานความมั่นคงไม่ได้ยิงลูกกระสุนที่สังหารนายมูราโมโต นักข่าวรอยเตอร์
แสดงให้เห็นถึงความไม่เต็มใจที่จะสอบสวนเหตุการณ์การเสียชีวิตและระบุ
ตัวบุคคลที่ต้องรับผิดชอบต่อการเสียชีวิตของมูราโมโต นักข่าวไร้พรมแดนกล่าว
มีการพลิกผลการสอบสวนหลายครั้ง ครั้งแรกมีการสรุปว่า
ทหารอาจเป็นผู้ยิงกระสุนดังกล่าว แต่ในปลายเดือนกุมภาพันธ์
กรมสอบสวนคดีพิเศษระบุว่าข้อสันนิษฐานดังกล่าวได้ถูกกันออกไป
คำแถลงการณ์ของอธิบดีกรมสอบสวนคดีพิเศษ นายธาริต เพ็งดิษฐ์เมื่อวานนี้ ที่ระบุว่า
“เราจะเป็นต้องสรุปในตอนนี้ว่ากองกำลังของรัฐบาลไม่ได้สังหารนายมูราโมโต
จนกว่ามีหลักฐานใหม่ที่แสดงให้เห็นเป็นอย่างอื่น” นั้นห่างไกลจากข้อสรุป
เป็นเพียงคำสัญญาที่จะรับพิจารณาหลักฐานใหม่เท่านั้น นอกจากนี้
การเดินหน้าค้นหาฆาตกรที่สังหารมูราโมโตนั้นยังห่างไกลจากความเป็นจริง
นักข่าวไร้พรมแดนเห็นว่า เจ้าหน้าที่รัฐพยายามยับยั้งการสอบสวนอย่างช้าๆ
และทำให้การสอบสวนดูซับซ้อน แม้ว่าก่อนหน้านี้
รัฐมนตรีกระทรวงการต่างประเทศจะยืนยันว่า
คณะกรรมการที่แต่งตั้งขึ้นมาสอบสวนเหตุการณ์ความรุนแรงมีความเป็นอิสระก็ตาม
“ไม่ว่าผลการสอบสวนจะออกมาเป็นเช่นไร รัฐบาลจะยังคงต้องรับผิดชอบต่อผลดังกล่าว”
โฆษกกระทรวงการต่างประเทศ
นายธานี ทองภักดีบอกนักข่าวไร้พรมแดนในเดือนมิถุนายน 2010
(ดูรายงาน “ประเทศไทย: ใบอนุญาตสังหาร”:
http://en.rsf.org/thailand-report-o… <
http://en.rsf.org/thailand-report-on-violence-against-media-08-07-2010,37905.html > ).
เหตุการณ์ความรุนแรงระหว่างกองทัพและฝ่ายตรงข้ามรัฐบาลเริ่มขึ้น
ในเดือนมีนาคม ปี2553 “คนเสื้อแดง” กลุ่มผู้สนับสนุนทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี
ที่ถูกยึดอำนาจโดยการทำรัฐประหารในเดือนกันยายนปี 2549
หลายพันคนบุกยึดกรุงเทพมหานครและเรียกร้อง
ให้นายกรัฐมนตรีอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะลาออกและจัดการเลือกตั้งใหม่
นักข่างไร้พรมแดนสรุปในรายงานพฤติกรรมายละเมิดพันธกรณี
ที่จะปกป้องนักข่าวในพื้นที่สงคราม ตามของกองทัพ
และคนเสื้อแดงกลุ่มหัวรุนแรงว่า ทั้งสองฝ่คำประกาศแมดเดยิน ของยูเนสโก
นายฟาบิโอ โปแลงกี นักข่าวช่างภาพชาวอิตาลีเป็นนักข่าวอีกราย
ที่ถูกสังหาร ระหว่างเหตุการณ์ปะทะในวันที่ 19พฤษภาคม 2553
และไม่มีการระบุแน่ชัดถึงสาเหตุการเสียชีวิตของเขาเช่นกัน
รวมกันแล้วมีประชาชนราว 90 รายเสียชีวิตจากเหตุการณ์ปะทะ
ในเดือนเมษายนและพฤษภาคม ปี 2553
http://robertamsterdam.com/thai/?p=751
นายฮิโร มูราโมโต นักข่าวช่างภาพรอยเตอร์ชาวญี่ปุ่น วัย 43 ปี
ถูกส่งไปทำข่าวคนเสื้อแดงในกรุงเทพมหานครปี 2553
ซึ่งเป็นเหตุการณ์ดังกล่าวจบลงด้วย
เหตุการณ์นองเลือดสังหารหมู่
http://robertamsterdam.com/thai/?p=174
โดยการใช้กำลังของรัฐบาล
ไม่นานก่อนเวลา 9:00 นาฬิกา ของวันที่ 10 เมษายน 2553
วันแรกของการสังหารหมู่ผู้ชุมนุม
นายมูราโมโตถ่ายภาพวิดีโออยู่ฝั่งทหารบนถนนดินก่อน
ที่จะย้ายไปฝั่งคนเสื้อแดงเพื่อจะบันทึกภาพการปะทะ
นายมูราโมโตถูกยิง
http://www.cpj.org/reports/2010/07/in-thailand-unrest-journalists-under-fire.php
ด้วยกระสุนปืน
ซึ่งคาดว่าเป็นของพลซุ่มยิงเข้าที่รักแร้ซ้ายทะลุผ่านหลัง
เขาถูกนำตัวส่งโรงพยาบาลทันที
แต่เสียชีวิตเนื่องจากเสียเลือดเป็นจำนวนมากจากบาดแผลกระสุนปืน
ต้นฉบับรายงานการสอบสวนการเสียชีวิตของรอยเตอร์ระบุว่า
�คำร้องที่ยื่นต่อศาลอาญาระหว่างประเทศ
http://robertamsterdam.com/thai/?p=683
เพื่อขอให้เริ่มการไต่สวนเหตุการณ์ดังกล่าว จะพบว่า
มีมูลเหตุที่สำคัญทำให้เชื่อว่า
เจ้าหน้าที่รัฐไทยอาจจะมีส่วนรับผิดชอบต่อการสังหารนี้
หลายคนวิจารณ์
http://robertamsterdam.com/thailand/?p=619 และชี้ว่า
ผลการสอบสวนของเจ้าหน้าที่รัฐไทย
เป็นการเย้ยหยันที่เลวร้ายต่อกระบวนการยุติธรรม
http://robertamsterdam.com/thailand/?p=610
ไม่ว่าจะเป็นความล้มเหลวในการทำการสอบสวนอย่างรวดเร็ว
การนำเสนอข้อมูลเท็จ เจตนาทำให้การสอบสวนล่าช้า
และจงใจสร้างกระบวนการเพื่อการันตีว่า
จะไม่ต้องมีผู้ใดรับผิดต่อ
การเสียชีวิตของนายมูราโมโต
http://asiancorrespondent.com/49440/more-criticism-over-dsis-probe-of-killed-japanese-cameraman/ ต้นเดือนมีนาคม
กรมสอบสวนคดีพิเศษไทยประกาศโดยไม่มีคำอธิบายเพิ่มเติมว่า
พวกเขาเปลี่ยนข้อสรุปในผลการสอบสวนก่อนหน้านี้
เรื่องการเสียชีวิตของนายมูราโมโต โดยระบุว่า
กระสุนที่สังหารมูราโมโตอาจมาจากฝั่งทหาร
แต่หลังจากนั้น เมื่อวานนี้ อธิบดีดีเอสไอ นายธาริจ เพ็งดิษฐ์ ประกาศข้อสรุป
ที่ไม่เป็นระเบียบและหลีกเลี่ยงไม่ได้ว่า “เราจะเป็นต้องสรุปในตอนนี้ว่า
กองกำลังของรัฐบาลไม่ได้สังหารนายมูราโมโต
จนกว่ามีหลักฐานใหม่ที่แสดงให้เห็นเป็นอย่างอื่น”
มีบทเรียนสำคัญสองประการจากท่าทีที่ไม่น่าเชื่อถือของดีเอสในคดีมูราโมโต
ประการแรก หากพิจารณาถึงน้ำหนักความสำคัญทางการทูตที่รัฐบาลญี่ปุ่น
ต้องแบกรับในกรณีที่พลเมืองของตนถูกสังหาร
และการที่ญี่ปุ่นลงทุนทางธุรกิจอย่างมหาศาลในประเทศไทยแล้ว
คนทั่วไปอาจทึกทักว่าคดีนี้น่าจะได้รับความสนใจเป็นพิเศษและถูกพิจารณาอย่างเร่งด่วน
แต่ตรงกันข้าม เจ้าหน้าที่รัฐไทยกลับพยายามปัดความรับผิดชอบและล้มเหลว
ที่จะปฏิบัติหน้าที่ในการสอบสวน แล้วอย่างนี้
เราคิดว่ารัฐบาลไทยจะสอบสวนคดีการเสียชีวิตของคนเสื้อแดงธรรมดาคนอื่นอย่างไร?
ประการที่สอง การกระทำของดีเอสไอที่ชี้นำการสอบสวนแสดงให้เห็นชัดเจนว่า
เหยื่อจากการกระทำรุนแรงอันน่าสยดสยองไม่สามารถคาดหวังได้
ตามสมควรต่อกระบวนการตุลาการภายใต้การบริหารงาน
ที่ไม่ความเป็นประชาธิปไตยของรัฐบาลนายกรัฐมนตรีมาร์ค อภิสิทธิ์
ที่จะสอบสวนอาชญากรรมเหล่านี้อย่างเป็นธรรมและเป็นอิสระ
ความจำเป็นที่องค์กรตุลาการระหว่างประเทศจะเข้ามาทำการสอบสวนเรื่องดังกล่าว
จึงเป็นเรื่องที่ไม่สามารถโต้แย้งได้ในจุดนี้
สื่อญี่ปุ่นอ้างคำกล่าวของนายสตีเฟน เจ แอดเลอร์ บรรณาธิการใหญ่ของสำนักข่าวรอยเตอร์
ที่ตอบโต้คำแถลงการณ์ที่ขี้ขลาดของนายธาริต
ด้วยท่าทีที่ไม่เชื่อ รังเกลียด และเจ็บแค้นต่อคำแถลงดังกล่าวว่า
“เมื่อไม่มีข้อสรุปการสอบสวน จึงเป็นเรื่องเร่งด่วนมากกว่าเดิม
ที่จะต้องมีความโปร่งใสในกระบวนการสอบสวนนี้
ผมขอเรียกร้องให้รัฐบาลไทยและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องทุกคน
ทำการสอบสวนอย่างละเอียด เป็นธรรม และพิถีพิถัน” เขากล่าวเพิ่มว่า
“ครอบครัวของนายมูราโมโตและเพื่อนร่วมงานที่รอยเตอร์มีสิทธิ์
ที่จะรู้ว่าโศกนาถกรรมนี้เกิดขึ้นได้อย่างไร และใครอยู่เบื้องหลัง”
นอกจากนี้ กลุ่มพิทักษ์เสรีภาพสื่อ
นักข่าวไร้พรมแดนยังเรียกคำแถลงการณ์ครั้งล่าสุดว่า
“ไม่น่าพอใจเป็นอย่างมาก”
http://en.rsf.org/thailand-erratic-investigation-yields-25-03-2011,39873.html
นักข่าวไร้พรมแดนระบุว่ากรณีการสอบสวนของทางการเกี่ยวกับการเสียชีวิต
ของนักข่าวช่างภาพฮิโร มูราโมโตรที่เกิดขึ้น
ในระหว่างการปะทะระหว่างรัฐบาลและกลุ่มต่อต้านรัฐบาล “คนเสื้อแดง”
ในกรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 10 เมษายน 2553 ว่า
“ไม่น่าพอใจเป็นอย่างมาก”
หนึ่งปีหลังจากเหตุการณ์ ข้อสรุปเบื้องต้นที่ระบุว่า
หน่วยงานความมั่นคงไม่ได้ยิงลูกกระสุนที่สังหารนายมูราโมโต นักข่าวรอยเตอร์
แสดงให้เห็นถึงความไม่เต็มใจที่จะสอบสวนเหตุการณ์การเสียชีวิตและระบุ
ตัวบุคคลที่ต้องรับผิดชอบต่อการเสียชีวิตของมูราโมโต นักข่าวไร้พรมแดนกล่าว
มีการพลิกผลการสอบสวนหลายครั้ง ครั้งแรกมีการสรุปว่า
ทหารอาจเป็นผู้ยิงกระสุนดังกล่าว แต่ในปลายเดือนกุมภาพันธ์
กรมสอบสวนคดีพิเศษระบุว่าข้อสันนิษฐานดังกล่าวได้ถูกกันออกไป
คำแถลงการณ์ของอธิบดีกรมสอบสวนคดีพิเศษ นายธาริต เพ็งดิษฐ์เมื่อวานนี้ ที่ระบุว่า
“เราจะเป็นต้องสรุปในตอนนี้ว่ากองกำลังของรัฐบาลไม่ได้สังหารนายมูราโมโต
จนกว่ามีหลักฐานใหม่ที่แสดงให้เห็นเป็นอย่างอื่น” นั้นห่างไกลจากข้อสรุป
เป็นเพียงคำสัญญาที่จะรับพิจารณาหลักฐานใหม่เท่านั้น นอกจากนี้
การเดินหน้าค้นหาฆาตกรที่สังหารมูราโมโตนั้นยังห่างไกลจากความเป็นจริง
นักข่าวไร้พรมแดนเห็นว่า เจ้าหน้าที่รัฐพยายามยับยั้งการสอบสวนอย่างช้าๆ
และทำให้การสอบสวนดูซับซ้อน แม้ว่าก่อนหน้านี้
รัฐมนตรีกระทรวงการต่างประเทศจะยืนยันว่า
คณะกรรมการที่แต่งตั้งขึ้นมาสอบสวนเหตุการณ์ความรุนแรงมีความเป็นอิสระก็ตาม
“ไม่ว่าผลการสอบสวนจะออกมาเป็นเช่นไร รัฐบาลจะยังคงต้องรับผิดชอบต่อผลดังกล่าว”
โฆษกกระทรวงการต่างประเทศ
นายธานี ทองภักดีบอกนักข่าวไร้พรมแดนในเดือนมิถุนายน 2010
(ดูรายงาน “ประเทศไทย: ใบอนุญาตสังหาร”:
http://en.rsf.org/thailand-report-o… <
http://en.rsf.org/thailand-report-on-violence-against-media-08-07-2010,37905.html > ).
เหตุการณ์ความรุนแรงระหว่างกองทัพและฝ่ายตรงข้ามรัฐบาลเริ่มขึ้น
ในเดือนมีนาคม ปี2553 “คนเสื้อแดง” กลุ่มผู้สนับสนุนทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี
ที่ถูกยึดอำนาจโดยการทำรัฐประหารในเดือนกันยายนปี 2549
หลายพันคนบุกยึดกรุงเทพมหานครและเรียกร้อง
ให้นายกรัฐมนตรีอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะลาออกและจัดการเลือกตั้งใหม่
นักข่างไร้พรมแดนสรุปในรายงานพฤติกรรมายละเมิดพันธกรณี
ที่จะปกป้องนักข่าวในพื้นที่สงคราม ตามของกองทัพ
และคนเสื้อแดงกลุ่มหัวรุนแรงว่า ทั้งสองฝ่คำประกาศแมดเดยิน ของยูเนสโก
นายฟาบิโอ โปแลงกี นักข่าวช่างภาพชาวอิตาลีเป็นนักข่าวอีกราย
ที่ถูกสังหาร ระหว่างเหตุการณ์ปะทะในวันที่ 19พฤษภาคม 2553
และไม่มีการระบุแน่ชัดถึงสาเหตุการเสียชีวิตของเขาเช่นกัน
รวมกันแล้วมีประชาชนราว 90 รายเสียชีวิตจากเหตุการณ์ปะทะ
ในเดือนเมษายนและพฤษภาคม ปี 2553
http://robertamsterdam.com/thai/?p=751