WeLoveOurKing
How to insert weloveking to you website

ทรงพระเจริญ

ขัตติยาอัด คอป แต่งนิทานโยนความผิดเสธ แดง 18 9 55

สถาบันกษัตริย์อยู่ได้ด้วยความจริง

ธงชัย วินิจจะกูล: Truth on Trial

สถาบันกษัตริย์ถึงเวลาต้องปรับตัว

ตุลาการผิดเลน !


ฟังกันให้ชัด! "นิติราษฎร์" ไขข้อข้องใจ ทุกคำถามกรณีลบล้างผลพวงรัฐประหาร





วิดีโอสอนการทำน้ำหมักป้าเช็ง SuperCheng TV ฉบับเต็ม 1.58 ชม.

VOICE NEWS

Fish




เพื่อไทย

เพื่อไทย
เพื่อ ประชาธิปไตย ขับไล่ เผด็จการ

Friday, December 18, 2009

กต.

ที่มา thaifreenews

เมื่อต้นเดือนธันวาคมที่ผ่านมา นิตยสารดิ อีโคโนมิสต์ (The Economist) ฉบับระหว่างวันที่ 6-12 ธ.ค. ได้ตีพิมพ์เผยแพร่ บทความเรื่อง “The king and them” และ “A right royal mess” ซึ่งมีการให้บิดเบือนข้อมูลเกี่ยวกับสถานการณ์ทางการเมืองในประเทศไทย ทั้งมีการกล่าวพาดพิงและให้ร้ายสถาบันพระมหากษัตริย์ของไทย วานนี้ (12 ธ.ค.) นายธฤต จรุงวัฒน์ อธิบดีกรมสารนิเทศ กระทรวงการต่างประเทศ มีหนังสือถึงบรรณาธิการนิตรสาร ดิ อีโคโนมิสต์ ว่า รู้สึกผิดหวังเป็นอย่างยิ่งต่อมุมมองและทัศนคติของนิตยสารฉบับดังกล่าว ซึ่งลงบทความเกี่ยวกับพระมหากษัตริย์ไทย และตีความเหตุการณ์ต่างๆ ไปตามการคาดเดา โดยไม่สอดคล้องกับข้อเท็จจริง รวมถึงไม่คำนึงว่าประเทศไทยมีภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ที่แตกต่างจากประเทศ อื่นๆ และยังมีความผูกพันระหว่างประชาชน กับสถาบันพระมหากษัตริย์ ที่หยั่งรากลึกมายาวนาน และไม่เกี่ยวข้องกับการเมือง

นายธฤต กล่าวว่า พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงวางพระองค์ตามบทบาทที่กำหนดไว้ในกฎหมาย ทรงวางพระองค์เป็นกลางทางการเมือง ทรงเข้าแทรกแซงทางการเมืองน้อยมาก และถ้ามีการแทรกแซงก็เป็นไปเพื่อป้องกันการเกิดเหตุการณ์นองเลือดในหมู่คน ไทย เช่น ในปี พ.ศ.2535 โดยไม่ได้ทรงเข้าข้างกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง อย่างไรก็ตาม กลุ่มการเมืองต่างๆ และนักวิเคราะห์มักดึงพระองค์เข้าไปเกี่ยวข้อง

ทั้งนี้ ก่อนการแทรกแซงโดยทหารเมื่อวันที่ 19 กันยายน 2549 ระบบการเมืองไทยวุ่นวายจนเกือบหยุดชะงัก มีเสียงเรียกร้องให้มีรัฐบาลพระราชทาน แต่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงปฏิเสธ พร้อมกับมีพระราชกระแสว่าปัญหาต่างๆ ต้องแก้ไขด้วยกระบวนการประชาธิปไตย

“คนไทยมีความรักและเทิดทูนพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว โดยสมัครใจ จากการได้เห็นพระองค์ท่านทรงเสียสละ และทรงงานหนักมาตลอดพระชนม์ชีพ เพื่อความสุขของปวงชนชาวไทย รวมถึงความยึดมั่นต่อประชาธิปไตยด้วย” รายละเอียดของหนังสือจาก ก.ต่างประเทศถึงนิตยสารฉบับดังกล่าวระบุ

รายละเอียดของจดหมายประท้วง จากกระทรวงต่างประเทศ ถึงบรรณาธิการนิตรสาร ดิ อีโคโนมิสต์มีดังนี้

Sir:

I am deeply dismayed by The Economist’s narrow views and condescending attitude. In trying to justify pre-supposed contentions, your double pieces (“The king and them” and “A right royal mess”, 4 December 2008) choose to give credence to writing by one American journalist about the King of Thailand and interpret events to suit his unfounded conspiracy-prone speculations, while discarding important facts that prove otherwise. More fundamentally, the articles ignores the very fact that each country evolves from background specific to itself, and that the bonds between Thai people and their kings are deeply rooted in the kingdom’s centuries-long history.

Throughout his reign, the King has clearly demonstrated that he is above and not involved in politics, strictly adhering to the roles prescribed by law. His steadfast political neutrality adds to the weight of his words – his moral authority, not political power. His intervention has been few and, when made, was meant to prevent further bloodsheds among Thais as in 1992, not to side with any groups. Nevertheless, political groups and analysts alike seem to have taken pains to get him involved. Prior to the military intervention on 19 September 2006, when Thailand’s political system seemed to have grinded to a halt, a call was made for a royally conferred government. The King, in his address to the judges in April that year, refused and said clearly that the problems must be resolved democratically and through constitutional means. Had he no faith in democracy, he could have done otherwise and Thais would have obliged. There is no need, as there never has been, for any behind-the-scene intrigue, as alleged. The affection and reverence that Thais feel towards him is genuine and shown voluntarily, stemming as much from their appreciation for his lifelong devotion and hard work for the well-being of all Thais as for his commitment to democracy. Yet, due to this, some groups have sought to make claims of royal support or interpret his action or silence for their own political ends. Indeed, the King said in 2005 that he is not beyond criticism. But his position as being above politics does not allow him to respond to any political claims or allegations against him (unfortunately, including those made by the Economist) – thus the raison d etre for Thais to call for the so-called lese-majeste law to protect their King. Here is another omitted fact: in Thailand as in other democracies, laws are enacted by parliamentarians who respond to the will of the people they represent. By neglecting facts and simple logics like these, your articles blatantly make wrongful accusations regarding the Thai King and inexcusably offend Thais. They deserve our protest in strongest terms.

Tharit Charungvat
Director-General, Department of Information and
Spokesman of the Ministry of Foreign Affairs of Thailand

ที่มา – ผู้จัดการ

โดย The Economist
ภาคภาษาไทยโดย คุณsaraburian
*อ่านบทความเกี่ยวเนื่องของดิ อิโคโนมิสต์เรื่องThailand''s king and its crisis: A right royal mess(คลิ้กอ่านฉบับภาคภาษาไทย)

หมายเหตุจากผู้แปลภาคภาษาไทย:ดิ อิโคโนมิสต์ เป็นนิตยสารข่าวรายสัปดาห์ มี ยอดการพิมพ์ประมาณ 1.2 ล้านฉบับต่อสัปดาห์ แต่เป็นที่ยอมรับกันว่า มีอิทธิพล เกินกว่า จำนวนผู้อ่านจริงมากนัก ผมมองว่านี่คือ Historic Event ในวงการสื่อต่อเหตุการณ์ในไทย

The king and them
The untold story of the palace’s role behind the collapse of Thai democracy
สถาบันกษัตริย์ของไทย
กษัตริย์กับประชาชนไทย

เรื่องเร้นลับเกี่ยวกับบทบาทของพระราชวังต่อความความล้มเหลวของประชาธิปไตยไทย

ธุรกิจการท่องเที่ยวของไทย อุตสาหกรรมการส่งออก และภาพลักษณ์ของประเทศได้ถูกทำลายลงราบคาบจากเหตุการณ์ทั้งหลายที่เพิ่งเกิดขึ้น บรรดาผู้จงรักภักดีต่อราชวงศ์ได้เข้ายึดพื้นที่ในหน่วยราชการหลายแห่งเป็นเวลาหลายเดือน และได้เข้ายึดสนามบินกรุงเทพฯทั้งสองแห่ง

ตำรวจไทยปฏิเสธที่จะทำการขับไล่กลุ่มผู้ชุมนุม กองทัพก็ปฏิเสธที่จะเข้ามามีบทบาทช่วยเหลือ สัปดาห์นี้เองการยึดสนามบินจบลงหลังจากที่ศาลได้ตัดสินยุบพรรคการเมืองสามพรรคที่เป็นพรรคร่วมรัฐบาล แต่ทั้งสามพรรคมีแผนที่จะตั้งพรรคขึ้นใหม่ภายใต้ชื่อใหม่และร่วมกันบริหารประเทศต่อไปท่ามกลางความขัดแย้งที่ยังครุกรุ่น

เปรียบดั่งเปลือกหุ้มแห่งความทันสมัยอันเกิดจากการพัฒนาอย่างรวดเร็วในช่วงทศวรรษ 1980 และต้นทศวรรษ 1990 ได้ลอกคราบบางๆของมันออก ทั้งที่ไม่นานมานี้ประเทศไทยได้รับการยอมรับว่าเป็นหัวขบวนของสังคมอันเปิดกว้างที่ยอมรับในความแตกต่างของเอเชีย ตอนนี้ดูเหมือนจะค่อยๆคืบคลานเข้าสู่ความเป็นอนาธิปไตย

thaienews.blogspot.com/2008/12/king-and-them.html

พันธมิตรฯกลับกลายมาเป็นสิ่งที่บ่อนเซาะทำลายพระราชวังเสียแล้ว..กษัตริย์ และราชวงศ์ได้กลายเป็นส่วนหนึ่งของปัญหาใหญ่นี้ และประทับอยู่เหนือสุดในลำดับชั้นอันไม่สิ้นสุดในสังคมที่ไม่เท่าเทียมกันนี้..ประเทศไทยมีความเสี่ยงที่จะเผชิญกับเหตุการณ์เฉกเช่นที่เกิดกับประเทศเนปาล คือสงครามกลางเมืองและการที่กษัตริย์ที่ได้มายุ่งเกี่ยวแทรกแซงกับการเมือง ปัจจุบันได้กลายเป็นประชาชนธรรมดาในประเทศสาธารณรัฐไปเสียแล้ว

ใครก็ตามที่เป็นมิตรแท้กับประเทศ และประชาชนไทย ต้องช่วยกันบอกประเทศไทย