ที่มา ประชาไท เปรียบเทียบตัวเลขการเยียวยากลุ่มเสื้อแดงกับผู้ได้รับผลกระทบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ เมื่อผู้สูญเสียในทางการเมืองได้รับเงินช่วยเหลือสูงกว่าเท่าตัวถ้าเทียบกับประชาชนทั่วไปในชายแดนใต้ เทียบตัวเลขการเยียวยาเสื้อแดง ความวุ่นวายทางการเมืองในช่วงที่มีการสลายการชุมนุมของกลุ่มคนเสื้อแดงในกรุงเทพมหานคร ช่วงเดือนเมษายน – พฤษภาคม 2553 ที่ผ่านจนมีผู้เสียชีวิตถึง 88 คน รัฐบาลได้ควักเงินช่วยเหลือเยียวยาให้ด้วย ทั้งผู้เสียชีวิต บาดเจ็บ ทรัพย์สินเสียหายและชดเชยเรื่องการประกอบอาชีพ นายเตะหาวอ กล่าวต่อว่า ปัจจุบันองค์กรภาคประชาสังคมจำเป็นต้องทำงานเยียวยาอีกหรือไม่ ในเมื่อการเยียวยาได้เข้าสู้ระบบของราชการแล้ว บทบาทที่ดีที่สุดขององค์กรภาคประชาสังคมคือ การเป็นชุมทางในการนำผู้ได้รับผลกระทบเข้าสู่ระบบการเยียวยาของรัฐ เป็นเพียงผู้ประสานงาน กระบวนการยุติธรรมที่เป็นปัญหาในจังหวัดชายแดนภาคใต้เป็นเงื่อนไขหนึ่งของการก่อความไม่สงบ หลายคนปฏิเสธการช่วยเหลือเยียวยาจากจากรัฐ แต่ต้องการให้รัฐให้ความยุติธรรมมากกว่า มาตรการ มาตรการช่วยเหลือจากภาครัฐ มาตรการช่วยเหลือจากภาคเอกชน กลุ่มผู้ประกอบการ ค้าขายรายย่อย 1.ครม.จ่ายเงินให้เปล่าช่วยเหลือให้เป็นกรณีพิเศษ รายละ 50,000 บาท 2.เจรจาให้ผู้ให้เช่าไม่เก็บค่าเช่า 1 เดือนแล้วรัฐบาลจะไปเจรจากับผู้ให้เช่าว่าจะชดเชยช่วยเหลือกันอย่างไร 3. เงินทุนหมุนเวียนดอกเบี้ยต่ำผ่านธนาคารของรัฐเช่น SMEแบงค์ ธนาคารออมสิน ฯลฯ การกู้ทุกกรณีจะได้รับระยะเวลาปลอดการชำระคืนเงินต้นเป็นเวลา 2ปี โดยมีหลักดังนี้ · ผู้กู้ที่มีหลักประกันจะสามารถกู้ได้เต็มที่รายละไม่เกิน 3 ล้านบาท · ผู้กู้ไม่มีหลักประกันจะสามารถกู้ได้รายละไม่เกิน 1 ล้านบาท · ทั้งนี้ ผู้ประกอบการที่ร้านค้าถูกเพลิงไหม้ กรณีกู้เงินไม่เกิน 1ล้านบาท จะได้รับระยะเวลาปลอดดอกเบี้ยช่วงการผ่อนชำระ คืน 3 แสนบาทแรก ส่วนอีก 7แสนบาท จะ คิดอัตราดอกเบี้ย3% · หากเป็นกรณีผู้ประกอบการที่ได้รับ ผลกระทบจากการชุมนุม แต่กิจการไม่ได้ถูกไฟไหม้ ก็จะกู้ได้ในวงเงิน 1 ล้านบาท อัตราดอกเบี้ย 3% ไม่ต้องค้ำประกัน 4. ยกเว้นการชำระภาษี สำหรับผู้ประกอบการและห้างร้านที่มีการประกันอัคคีภัยแล้ว หากได้รับการชดเชย สินไหม 5.จัดให้มีพื้นที่ค้าขายพื้นที่ชั่วคราวกทม.จะเปิดถนนคนเดิน รวมพลัง เพื่อวันใหม่ (Together We Can Grand Sale)ที่สีลม เพื่อช่วยผู้ค้ารายย่อยที่ไม่มีที่ขายสินค้าและมีรายได้น้อย 600 บู๊ธ ระหว่างวันที่ 28-29พฤษภาคม พื้นที่ค้าขายใหม่ ปิดถนนวันเสาร์-อาทิตย์ เป็นถนน คนเดินซึ่งจะมีหลายส่วนด้วยกัน · ผู้ประกอบการสยามสแควร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้มีแผนรองรับ โดยจะมีการกันพื้นที่บางส่วนในสยามส แควร์ทำเป็นเต็นท์ขายชั่วคราว และระยะ ถัดไปก็จะทำเป็นเต็นท์กึ่งถาวรก่อนที่จะ กลับไปอยู่ที่เดิม · ผู้ประกอบการพื้นที่อื่น ๆจะมีการหา พื้นที่ใกล้เคียงโดยจะติดต่อไปยังเช่น ห้าง ต่าง ๆ ในบริเวณนั้น พื้นที่ของสำนักงาน ทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ในบางส่วน ซึ่งรัฐบาลกำลังจะเจรจาในการที่จะเช่าและ เปิดโอกาสให้คนเหล่านี้ไปค้าขายได้ · ผู้ประกอบการจากเซ็นเตอร์วันอาจไป ขายที่บางกอกบาร์ซาร์ ราชดำริ · ส่วนผู้ประกอบการรายย่อยที่มีปัญหา ต้องปิดกิจการหรือค้าขายไม่ได้ในช่วงการ ชุมนุม โดยรัฐบาลจะไปเจรจาให้ผู้ให้เช่าไม่ เก็บค่าเช่า 1 เดือน 1. สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ประกาศงดเก็บค่าเช่า 3 เดือน ในพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบ และความเสียหายจากเหตุชุมนุม รวมทั้งจะจัดหาที่สำรองให้ค้าขายชั่วคราวด้วย 2. เซ็นทรัล แบ่งพื้นที่ขายเพื่อช่วยเหลือผู้ประกอบการร้านค้าปลีกรายย่อยได้ถึง 3 ศูนย์ขนาดพื้นที่ตั้งแต่ 21-70 ตร.ม. ได้แก่ · ท็อปส์ มาร์เก็ต เพลส อุดมสุข ให้พื้นที่ขายฟรี3เดือน โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย · ศูนย์การค้าพาวเวอร์เซ็นเตอร์ (บิ๊กซี)หัวหมาก ตั้งอยู่เยื้องมหาวิทยาลัยรามคำแหง หัวหมาก เฉพาะศูนย์นี้คิดค่าเช่าในอัตราพิเศษตั้งแต่ 200บาทขึ้นไปต่อวัน ขึ้นอยู่กับขนาดของพื้นที่ · ศูนย์การค้าไชน่าเวิลด์ วังบูรพา ให้พื้นที่ขายฟรี3 เดือน 3. ศูนย์การค้าสยามพารากอน มีแผนช่วยเหลือ ร้านค้ารายย่อยที่ได้รับผลกระทบจากปัญหา การเมืองในพื้นที่ราชประสงค์และพื้นที่อื่นๆ ด้วย การ · เปิดให้เข้ามาขายสินค้าในชั้น 5 โซน รอยัล พารากอน ฮอลล์ ที่มีพื้นที่รวม 12,000 ตร.ม.โดยไม่คิดค่าเช่าพื้นที่ · รวมทั้งมีแผนจัดคอนเสิร์ตด้วย ซึ่งอยู่ระหว่างการประสานงานร่วมกับกทม.เพื่อทำแผนงานร่วมกัน คาดว่าจะเปิดเผยรายละเอียดทั้งหมดได้ในเร็วๆนี้ · นอกจากนี้ สยามพารากอนยังมีพื้นที่ ลานพาร์คพารากอน ที่ติดกับศูนย์การค้าสยามเซ็นเตอร์ ขนาดพื้นที่ 3,500 ตร.ม.ด้วย ซึ่งสามารถนำมาจัดเป็นพื้นที่ขายสินค้าได้เช่นกัน 4. The Mall Group เปิ ดพื้นที่ให้ร้านค้าที่ ได้รับผลกระทบจากย่านราชประสงค์ขายของที่ ซอยสุขุมวิท 35 ตั้งแต่วันที่2-6 มิถุนายน 5. ด้านผู้ค้าที่อยู่ห้างในเซ็นเตอร์วัน โดย1 เดือนนับจากนี้ จะให้ย้ายไปขายที่แฟชั่นมอลล์ ซึ่ง อยู่ฝั่งตรงข้ามกับเซ็นเตอร์วัน หรือที่เคยเป็นห้าง โรบินสัน มี 2 ชั้น พื้นที่ 3,000 ตารางเมตร ซึ่งพอ มาทำเป็นแฟชั่นมอลล์ มีปัญหาภาระหนี้สินกับ ธนาคารเอสเอ็มอี โดยผู้ค้าตรงนี้จะไม่เก็บค่าเช่า 6 เดือน 6. กลุ่มคนรักจุฬาฯรักสยาม จัดกิจกรรม กองทุนไทยไม่ทิ้งกัน ระดมเงินบริจาคช่วยเหลือผู้ ที่รับผลกระทบย่านสยามสแควร์ 7. ครอบครัว ตันสัจจา เจ้าของโรงหนังAPEX, Siam Scala และ Lido เปิ ดพื้นที่ให้กลุ่มผู้ขายของ ใต้โรงหนังสยามเข้าไปขายของใต้ lido ชั่วคราว 8. นายตัน ภาสกรนที กรรมการผู้จัดการบริษัท โออิชิ กรุ๊ป จำกัด ผู้บริหารธุรกิจอาหารเครื่องดื่ม ในเครือโออิชิ กล่าวว่า บริษัทได้นำที่ดินจำนวน14 ไร่ ในพื้นที่สนามฟุตบอลอารีน่า ซอยทองหล่อ10 โดยเปิ ดให้ทั้งผู้จำหน่ายสินค้าทั้งแบบแบกะดิน และเปิดท้ายขายของโดยไม่เสียค่าใช้จ่ายเปิดให้ ผู้ประกอบการลงทะเบียนในวันที่ 25 พ.ค. นี้ เพื่อ รับสิทธิจำหน่ายสินค้าตั้งแต่เวลา 11.00-17.00น. โดยเปิ ดจำหน่ายสินค้าในระหว่างวันที่ 28พ.ค.-6 มิ.ย.นี้ ระหว่างเวลา 16.00-21.00 กลุ่มผู้ประกอบการ ธุรกิจท่องเที่ยว ธนาคารกรุงศรีอยุธยา และบริษัทในเครือธนาคารออกมาตรการช่วยเหลือลูกค้าที่ได้รับผลกระทบจากวิกฤตการณ์ทางการเมือง ให้การดูแลพิเศษเพื่อช่วยบรรเทาความเดือดร้อนที่เกิดขึ้น พร้อมให้ลูกหนี้ผ่อนชำระเฉพาะดอกเบี้ยในช่วงระยะเวลาพิเศษหรือขยายเวลาการผ่อนชำระเงินตามข้อตกลง นอกจากนี้ธนาคารยังพร้อมให้ความช่วยเหลือธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมท่องเที่ยวและอุตสาหกรรมเกี่ยวเนื่องอื่นๆ ที่ได้รับผลกระทบจากวิกฤตการณ์ครั้งนี้ด้วย กลุ่มผู้ใช้แรงงาน ลูกจ้างในระบบประกันสังคม · ได้รับการชดเชยตามหลักเกณฑ์ของ ประกันสังคม ไม่เกิน 6 เดือน · รัฐบาลจสมทบให้อีก 7,500 บาท/ เดือน เป็นเวลา 6 เดือน ระหว่างยังไม่มีงาน ทำ ลูกจ้างที่ไม่ได้ผูกกับระบบประกันสังคม เช่น หาบเร่แผงลอยรัฐบาลจะชดเชยให้ 7,500 บาท/เดือน ระยะเวลา3-6เดือน หมายเหตุ : อย่างไรก็ตาม ขณะนี้คณะกรรมการช่วยเหลือผู้ประกอบการและลูกจ้างที่ได้รับผลกระทบจากการชุมนุม ที่มีนายกอร์ปศักดิ์ สภาวสุ เลขาธิการ นายกรัฐมนตรี เป็นประธาน จะมีการพิจารณาลงในรายละเอียด และอยู่ระหว่างการสรุปขึ้นทะเบียนผู้ที่ได้รับผลกระทบว่ามีทั้งหมดกี่ราย นักเรียน 33 โรงเรียนเลื่อนการเปิดภาคเรียน ถึงวันที่ 31 พ.ค. นักศึกษา · กระทรวงศึกษาธิการจะหยิบยก โครงการเสริมสร้างประชาธิปไตยโดยใช้ การศึกษาเพื่อสร้างพลเมือง มาเป็นนโยบาย สำคัญในการวางรากฐานการพัฒนาให้คน ในชาติ ประชาชนทั่วไป ด้านการลดภาระค่าใช้จ่าย ขยายมาตรการภาษีภาคอสังหาริมทรัพย์ ในส่วนของการลดค่าธรรมเนียมจดจำนองและค่าธรรมเนียมการโอนเหลือ0.01%ออกไปอีก 1 เดือน เป็น 30มิ.ย.53จากเดิมสิ้นสุด 31พ.ค.53 ด้านจิตใจ เปิดศูนย์ปฏิบัติการที่ห้องเจ้าพระยา ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร เพื่อรับฟังเรื่องร้องทุกข์ต่างๆ ที่เกี่ยวกับผลกระทบจากเหตุการณ์ความไม่สงบ หมายเลข02-2244680 หรือ 02-2212141-69 ต่อ 1462 Z โดยกทม.เปิดศูนย์ให้ความช่วยเหลือเยียวยา ด้านจิตใจ ผู้ได้รับ ผลกระทบ จากเหตุการณ์ความไม่สงบ โดยเฉพาะคนในครอบครัวผู้เสียชีวิต88ราย อย่างไรก็ตามก่อนหน้านี้ จากการเดินทางไปเยี่ยมครอบครัวผู้เสียชีวิตจำนวน 29 ราย ในเหตุการณ์เมื่อวันที่10เม.ย.พบว่า 80 % มีปัญหาซึมเศร้าปานกลาง ถึงมาก ซึ่งจะต้องเข้าไปดูแลเป็นพิเศษ เพื่อป้องกันปัญหาฆ่าตัวตาย ส่วนผู้บาดเจ็บมีปัญหาสุขภาพจิต 12 % นอกจากนี้ ยังต้องติดตาม ผู้ที่เข้าร่วมชุมนุม ซึ่งมีรายชื่อแล้ว จำนวน3,000ราย และจะตามไปดูประชาชนใน24จังหวัด ที่มีการประกาศ พ.ร.ก.ฉุกเฉิน รวมทั้งในส่วน กทม. 23ชุมชน ประมาณ100,000 รายด้วย สนับสนุนการเงินต่าง ๆ โดยกระทรวงสาธารณสุขจัดตั้งกองทุนช่วยเหลือผู้ประสบภัย โดยใช้ชื่อบัญชี “รวมกัน เราทำได้” เลขบัญชี 088 004 320 2 ธนาคารกรุงไทย สาขาย่อยศาลาว่าการ กทม. 1. พารากอนลดราคาตั๋วชมภาพยนตร์เริ่มต้น ที่ 100 บาท ประเดิมเปิ ดวันแรกตั้งแต่วันนี้ถึง31 พ.ค. 2. ธนาคารกรุงศรีอยุธยา และบริษัทในเครือ ธนาคารออกมาตรการช่วยเหลือลูกค้าที่ได้รับ ผลกระทบจากวิกฤตการณ์ทางการเมือง ให้การ ดูแลพิเศษเพื่อช่วยบรรเทาความเดือดร้อนที่เกิดขึ้น พร้อมให้ลูกหนี้ผ่อนชำระเฉพาะดอกเบี้ยในช่วง ระยะเวลาพิเศษหรือขยายเวลาการผ่อนชำระเงิน ตามข้อตกลง นอกจากนี้ธนาคารยังพร้อมให้ ความช่วยเหลือธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรม ท่องเที่ยวและอุตสาหกรรมเกี่ยวเนื่องอื่นๆ ที่ ได้รับผลกระทบจากวิกฤตการณ์ครั้งนี้ด้วย 3. 27 พ.ค.นี้ จุฬาฯจะจัดหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ ให้บริการตรวจร่างกาย ปอดจากการที่สูดควันยาง ที่ถูกเผา การประเมินความเครียดและให้คำปรึกษา ด้านจิตวิทยา ที่ชั้นใต้ดินอาคารวิทยกิตติ์หรือ ศูนย์หนังสือจุฬาฯสาขาสยามสแควร์ ผู้ได้รับบาดเจ็บ-ตาย ผู้ตาย รัฐบาลให้เงินค่าชดเชยแก่ครอบครัวผู้เสียชีวิต 400,000 บาท กระทรวงสาธารณสุขชดเชยให้50,000บาท ผู้บาดเจ็บ ผู้บาดเจ็บ รายละ 6 หมื่นบาท ผู้บาดเจ็บเล็กน้อย รายละ 2 หมื่นบาท ที่มา : สำนักนายกรัฐมนตรี, http://www.pm.go.th/blog/32058