ที่มา Thai E-Newsศาสตราจารย์ดอกเตอร์ จังซีเจิ้น แห่งมหาวิทยาลัยปักกิ่งได้เขียนบทความวิเคราะห์วิจารณ์ความแตกแยกของสังคมไทย โดยใช้นามปากกา เสี่ยนเหวยจิ้ง หรือ แว่นขยาย ตีพิมพ์ในหนังสือพิมพ์ “ซินจิงเป้า” ฉบับวันที่ 2 พฤษภาคม 2010 ซึ่งหนังสือพิมพ์เหรินหมินรึเป้าออนไลน์ได้นำลงในคอลัมน์ “ข่าวด่วนสถานการณ์สากล” ผมเห็นว่าเป็นบทวิเคราะห์ที่ตรงกับสภาพความเป็นจริง จึงแปลตามต้นฉบับเดิมทุกตัวอักษร ไม่ได้ตัดต่อเพิ่มเติมหรือแทรกความเห็นส่วนตัวใด ๆ เพื่อเป็นกำลังใจสำหรับผู้ที่กำลังต่อสู้เพื่อประชาธิปไตย คัดค้านอำมาตยาธิปไตยอยู่ในปัจจุบัน และโดยเฉพาะเพื่อชาวพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยที่บอกว่าต่อสู้เพื่อคนยากคนจนได้ใช้เป็นแว่นขยายสำหรับตรวจสอบจุดยืน ทัศนะ ของตัวเอง ว่ายืนถูกจุดหรือไม่ มองปัญหาตรงตามสภาพความเป็นจริงหรือไม่อย่างไร
อรุโณทัย
4 พฤษภาคม 2010
他信的失当政策使泰国经济鸿沟变成了社会分裂。他的一个严重错误是:拥有了一个人数众多的朋友,却树立了一个能量巨大的敌人。
近年来泰国政治波澜迭起。每每波涛涌起,都以衣衫的颜色为号,先是黄衫军独占鳌头,后又红衫军独领风骚,最近又涌出粉衫军、彩衫军等。不过,真正形成对峙的是黄红两大阵营,这反映了泰国社会的分裂和阶级的对立。
在大多数发展中国家,城市中产阶级同农村贫民之间的贫富悬殊问题是一个普遍现象,绝非泰国独有,这是后发国家城乡二元制经济长期存在的必然结果。作为政府,本应推动农村经济发展,提升农民经济地位,从而缩小城乡差别。他信政府上台后,的确在这方面做了努力,出台了一系列振兴农村经济的惠民措施,如“30泰铢治百病”的农村医改等。农民对此无不欢欣鼓舞,对他信也感恩戴德。然而,他信政府却没有给城市中产阶级带来多大好处,相反还增加税收,这就引起了他们的不满。
他信的惠民政策不是没有政治图谋。他深谙民主政治中选票的意义,而泰国又是农民占多数的国家,抓住了农民就抓住了权力。这就是他信能在泰国历史上成为首位连任总理、首次建立一党政府的秘密所在。
一旦大权在握,他信便开始对那些敢于批评他的媒体人和教授们大肆整肃,这为他树立了第一个巨大的敌人。而对传统官僚体制进行大刀阔斧改革,又在亲王室的军队头上动土,则把传统官僚势力变成了他信的第二个敌人。这两大势力联合结成了一个反他信的阵营,即黄衫军。
黄衫军阵营的人数不多,但能量巨大。他们有强大的媒体系统,可以进行有效的舆论动员,发动大规模的有组织的街头运动。军队更是泰国传统政治中最关键力量,它常常决定着政治领袖的政治命运,就像2006年的军人政变。黄衫军又多居住在曼谷,有天时、地利、人和方面的优势,这决定了亲他信政府的失败。
红衫军的主体是农民,虽然他们教育程度低下,但有朴素的报恩情结,决心为其“恩人”他信打抱不平。他们组织涣散,但农村传统的庇护制社会关系发挥了作用。亲他信的地方大佬、乡绅、领头人利用他们的传统社会纽带可以进行大规模社会动员,当然,这其中也有强大驱动力:金钱。他信也倾囊相助。红衫军最大的优势在于人多势众。如果再次民主选举,红衫军仍有胜算可能。这就是为什么黄衫军会主张废除“一人一票制”。
因此,在很大程度上,他信的失当政策使泰国的经济鸿沟变成社会分裂。他的一个严重错误是:拥有了一个人数众多的朋友,却树立了一个能量巨大的敌人。这就导致泰国政治的奇特现象:乡下人选出了他,城里人却推翻了他。两个阵营之间斗争的焦点就是他信,一个亲,一个反。只要他信被排斥在泰国政治之外,泰国社会分裂就很难弥合。
张锡镇(北大 教授)
โดย เสี่ยนเหวยจิ้ง (แว่นขยาย)
นโยบายที่ขาดความพอดีของทักษิณทำให้ช่องว่างทางเศรษฐกิจกลายเป็นความแตกแยกทางสังคม ความผิดพลาดที่ร้ายแรงของเขาก็คือ เขามีเพื่อนมิตรที่มีจำนวนคนอันมากมาย แต่ก็ได้สร้างศัตรูตัวหนึ่งที่มีพลังอันมหาศาลด้วย
หลายปีมานี้การเมืองของไทยเกิดละลอกคลื่นละลอกแล้วละลอกเล่า และการเกิดละลอกคลื่นแต่ละครั้ง ล้วนถือเอาสีเสื้อเป็นสัญลักษณ์ ก่อนหน้านี้คือกองทัพเสื้อเหลืองครองความเป็นเจ้าแต่เพียงผู้เดียว ต่อมาก็กองทัพเสื้อแดงผาดโผนโดดเด่นเป็นหนึ่งไม่มีสอง ล่าสุดก็มีกองทัพเสื้อสีชมพู และเสื้อหลากสีผุดขึ้น แต่ว่าที่ก่อรูปเป็นคู่ปรับอย่างแท้จริงนั้นคือเหลืองกับแดง 2 ค่ายใหญ่ ซึ่งได้สะท้อนให้เห็นถึงความแตกแยกและความเป็นปฏิปักษ์ทางชนชั้นของสังคมไทย
ในประเทศที่กำลังพัฒนาส่วนใหญ่ ปัญหาความเหลื่อมล้ำระหว่างความร่ำรวยกับความยากจนระหว่างชนชั้นกลางในเมืองกับคนยากจนในชนบทเป็นปรากฏการณ์ทั่วไป ไม่ใช่มีเพียงประเทศไทยเท่านั้น นี่เป็นผลิตผลอันแน่นอนของระบอบเศรษฐกิจทวิลักษณ์ระหว่างเมืองกับชนบทของประเทศพัฒนาทีหลังซึ่งดำรงอยู่เป็นเวลายาวนาน ในฐานะรัฐบาล ควรต้องผลักดันการพัฒนาของเศรษฐกิจชนบท ยกระดับฐานะทางเศรษฐกิจของชาวนา หดช่องว่างระหว่างเมืองกับชนบท ภายหลังที่รัฐบาลทักษิณขึ้นนั่งแท่น ได้ลงเรี่ยวลงแรงในด้านนี้พอสมควร ออกมาตรการเอื้อประโยชน์ต่อประชาชน ฟื้นฟูเศรษฐกิจชนบทเป็นจำนวนมาก เช่น “30 บาทรักษาทุกโรค” เป็นการปฏิรูปงานรักษาพยาบาลในชนบท เป็นต้น ทำให้ชาวนาต่างก็ชื่นชมยินดีและสำนึกในบุญคุณของทักษิณ แต่ว่า รัฐบาลทักษิณกลับไม่ได้อำนวยประโยชน์ให้แก่ชนชั้นกลางในเมืองมากนัก ตรงกันข้ามกลับเพิ่มภาษีของพวกเขาอีกต่างหาก นี่ก็ทำให้พวกเขาไม่พอใจ
นโยบายเอื้อประโยชน์ต่อประชาชนของทักษิณใช่ว่าไม่มีจุดมุ่งหมายทางการเมืองก็หาไม่ เขาตระหนักซึ้งถึงความหมายของบัตรลงคะแนนเสียงเลือกตั้งในการเมืองประชาธิปไตย และประเทศไทยก็เป็นประเทศที่ชาวนาเป็นคนส่วนใหญ่ของประเทศ กุมชาวนาได้ก็เท่ากับกุมอำนาจได้ นี่ก็เป็นเคล็ดลับที่เหตุใดทักษิณจึงสามารถเป็นนายกคนแรกที่อยู่ในตำแหน่งติดต่อกันถึง 2 สมัย สร้างรัฐบาลพรรคเดียวเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ของไทย
จังซีเจิ้น (ศาสตราจารย์มหาวิทยาลัยปักกิ่ง)
เพื่อไทย
Tuesday, May 11, 2010
นักวิชาการของประเทศสังคมนิยมมองความขัดแย้งแตกแยกของสังคมไทย
泰国社会分裂皆因“他”
2010年05月02日05:11 来源: 《新京报》
显微镜
ความแตกแยกของสังคมไทยล้วนเพราะ “เขา”
2/5/2010
พอมีอำนาจอยู่ในมือ ทักษิณก็เริ่มลงมือจัดการกับบุคคลในวงการสื่อสารมวลชนกับบรรดาอาจารย์มหาวิทยาลัยที่กล้าวิพากษ์วิจารณ์เขาเป็นการใหญ่ นี่เป็นการสร้างศัตรูที่ใหญ่โตมหึมา ตัวที่ 1ให้กับตัวเอง และต่อระบบเจ้าขุนมูลนายที่มีมาแต่ดั้งเดิมก็ดำเนินการปฏิรูปอย่างโผงผางแบบขวานผ่าซาก อีกทั้งยังกล้ากดหัวกองทัพซึ่งนิยมราชสำนัก ทำให้อิทธิพลขุนนางดั้งเดิมกลายเป็นศัตรูตัวที่ 2 ของทักษิณ อิทธิพลใหญ่ทั้งสองขุมจับมือกันสร้างเป็นค่ายพันธมิตรคัดค้านทักษิณ ซึ่งก็คือกองทัพเสื้อเหลือง
จำนวนคนในค่ายของกองทัพเสือเหลืองมีไม่มาก แต่มีพลังมหาศาล พวกเขามีเครือข่ายสื่ออันเข้มแข็งเกรียงไกร สามารถดำเนินการระดมประชามติอันได้ผล ก่อการเคลื่อนไหวสู่ท้องถนนที่มีขนาดใหญ่และมีการจัดตั้ง กองทัพยิ่งเป็นกำลังที่เป็นปมเงื่อนในการเมืองแบบดั้งเดิมของไทย มันมักจะเป็นผู้ชี้ชะตากรรมทางการเมืองของผู้นำทางการเมือง อย่างเช่นการรัฐประหารโดยทหารในปี 2549 กองทัพเสื้อเหลืองส่วนใหญ่พำนักอยู่ในกรุงเทพ มีความได้เปรียบทั้ง ฟ้า ดิน และคน ซึ่งเป็นตัวกำหนดความพ่ายแพ้ของฝ่ายนิยมรัฐบาลทักษิณ
แกนหลักของกองทัพเสื้อแดงคือชาวนา ถึงแม้ว่าพวกเขามีระดับการศึกษาต่ำ แต่มีอารมณ์ความรู้สึกใสซื่อที่จะตอบแทนบุญคุณ ตัดสินใจเด็ดเดี่ยวสู้เพื่อทักษิณ “ผู้มีพระคุณ” ซึ่งไม่ได้รับความเป็นธรรม พวกเขามีการจัดตั้งที่กระจัดกระจาย แต่ความสัมพันธ์ทางสังคมในระบบอุปถัมภ์แบบดั้งเดิมของชนบทเกิดบทบาท พวกเจ้าพ่อท้องถิ่น คหบดีบ้านนอก และผู้นำชุมชนที่นิยมทักษิณสามารถอาศัยเส้นสายโยงใยทางสังคมแบบประเพณีดั้งเดิมดำเนินการปลุกระดมทางสังคมอย่างขนานใหญ่ แน่นอนในนี้ก็มีแรงจูงใจที่แข็งแกร่ง เงินทอง ทักษิณก็พร้อมเทกระเป๋าช่วยอยู่แล้ว ความได้เปรียบสูงสุดของกองทัพเสื้อแดงอยู่ที่มีจำนวนคนมาก ถ้าหากจัดให้มีการเลือกตั้งแบบประชาธิปไตย กองทัพเสื้อแดงยังมีความเป็นไปได้ที่จะชนะ และนี่ก็คือเหตุใดกองทัพเสื้อเหลืองจึงมีความเห็นให้ยกเลิก “ระบบหนึ่งคนหนึ่งเสียง”ดังนั้น ในระดับที่สูงพอดู นโยบายที่ขาดความพอดีของทักษิณทำให้ช่องว่างทางเศรษฐกิจกลายเป็นความแตกแยกทางสังคม ความผิดพลาดที่ร้ายแรงของเขาก็คือ เขามีเพื่อนมิตรที่มีจำนวนคนอันมากมาย แต่ก็ได้สร้างศัตรูตัวหนึ่งที่มีพลังอันมหาศาลด้วย นี่ก็นำมาซึ่งปรากฏการณ์พิลึกพิลั่นของการเมืองประเทศไทย คนชนบทเลือกตั้งเขา คนในเมืองโค่นล้มเขา จุดรวมศูนย์ของการต่อสู้ระหว่าง 2 ค่ายก็คือทักษิณ ฝ่ายหนึ่งนิยม ฝ่ายหนึ่งคัดค้าน ขอเพียงทักษิณถูกขจัดอยู่นอกการเมืองของไทย ความแตกแยกของสังคมไทยก็ยากจะประสานได้