ที่มา Thai E-News
ที่มา 泰国人民民主运动路漫漫
แปลโดย นักแปลอิสระ
18 พฤษภาคม 2553
กองทัพเสื้อแดงไทยได้เริ่มชุมนุมใหญ่อีกครั้งที่นครหลวงกรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 14 มีนาคม 2553 เรียกร้องรัฐบาลอภิสิทธิ์ยุบสภาเลือกตั้งใหม่ การชุมนุมใหญ่ที่มีคนเข้าร่วมถึง 500,000 คนในวันที่ 14 มีนาคม เป็นการชุมนุมเรียกร้องประชาธิปไตยที่มีขนาดใหญ่ที่สุดครั้งหนึ่งในประวัติศาสตร์ของไทยรัฐบาลอภิสิทธิ์ของพรรคประชาธิปัตย์ซึ่งมีพวกปฏิกิริยาอนุรักษ์ โดยมีกองทัพ คณะองคมนตรี นายทุนขุนทรัพย์ และราชสำนักเป็นต้นหนุนหลังอยู่ ได้เริ่มดำเนินการปราบปรามกองทัพเสื้อแดงด้วยกำลังรุนแรงที่คลุ้งไปด้วยกลิ่นคาวเลือดในเดือนเมษายน ในปฏิบัติการขอพื้นที่คืนโดยกองทัพในวันที่ 10 เมษายนทำให้มีคนตาย 25 คน ต่อจากนั้นก็ยังมีเหตุการณ์รุนแรงเกิดขึ้นประปราย จนถึงวันที่ 13 พฤษภาคม กองทัพภายใต้การบงการของนายอภิสิทธิ์ได้ใช้กำลังเข้าสลายการชุมนุมของกองทัพเสื้อแดงซึ่งตั้งมั่นอยู่ใจกลางเมืองกรุงเทพ เกิดการปะทะอย่างรุนแรง จนถึงวันที่ 17 พฤษภาคม ก็มีคนตายแล้วถึง 36 คน กองทัพไทยนอกจากทำการตัดน้ำตัดไฟตัดการสื่อสารทุกชนิดแล้ว ยังใช้กระสุนจริงยิงใส่ผู้ชุมนุมอย่างบ้าคลั่ง วันที่ 19 พฤษภาคม กองทัพเคลื่อนรถถังเข้าโจมตีอย่างรุนแรงต่อกองทัพเสื้อแดงซึ่งตั้งทัพอยู่เขตการค้าใจกลางเมืองกรุงเทพ แกนนำกองทัพเสื้อแดงจำเป็นจำใจประกาศเลิกการชุมซึ่งกินเวลากว่า 2 เดือนเพื่อหลีกเลี่ยงการสูญเสียชีวิตผู้คนโดยเปล่าประโยชน์ และพากันเข้ามอบตัวต่อทางตำรวจ แต่ว่ายังคงมีชาวเสื้อแดงจำนวนมากที่มีอารมณ์โกรธแค้นต่อการปราบปรามของรัฐบาลยืนหยัดต่อสู้ต่อไป เกิดเพลิงลุกไหม้ใจกลางกรุงเทพหลายแห่ง รัฐบาลประกาศเคอร์ฟิว เสริมการควบคุมสื่อ แต่กองทัพเสื้อแดงในต่างจังหวัดหลายจังหวัดที่ไม่ยอมเลิกรายังคงทำการต่อสู้ต่อไป
ภายในเวลาสั้น ๆ เพียง 1 เดือนนับจากเดือนเมษายนถึงเดือนพฤษภาคมมีคนเสียชีวิตแล้วมากกว่า 70 คน และเกือบ 2,000 คนบาดเจ็บเข้ารักษาในโรงพยาบาล การปราบปรามอย่างโหดร้ายป่าเถื่อนต่อขบวนการช่วงชิงประชาธิปไตยของกองทัพเสื้อแดงของรัฐบาลนายอภิสิทธิ์ ได้เขียนบทบันทึกเลือดลงในประวัติศาสตร์การช่วงชิงประชาธิปไตยของประชาชนไทยอีกบทหนึ่ง
ประวัติศาสตร์การต่อสู้เพื่อให้ได้มาซึ่งประชาธิปไตยของประชาชนไทยมีความเป็นมาอันยาวนาน และก็เต็มไปด้วยเลือดและน้ำตาของประชาสามัญชนเป็นจำนวนมาก สังคมไทยแต่ไหนแต่ไรมาก็ถูกครอบงำโดยกลุ่มขุนนางหัวกะทิซึ่งมีองค์ประกอบจากราชสำนัก พวกนิยมกษัตริย์ ขุนทรัพย์ใหญ่รัฐบาลคอรัปชั่นโกงกินและกองทัพ โภคทรัพย์ของประเทศถูกพวกเขาแบ่งกันกิน อำนาจทางการเมืองถูกพวกเขาผูกขาด ไม่ว่าในเมืองหรือชนบทเสียงของคนยากคนจนไม่เคยได้รับความสนใจ ประเทศไทยเป็นสังคมที่ไม่เสมอภาคเท่าเทียมเป็นอย่างยิ่ง โภคทรัพย์ถูกรวมศูนย์อยู่ในมือของกลุ่มปกครองขุนนางหัวกะทิจำนวนน้อย และเพื่อแบ่งปันผลประโยชน์ภายในกลุ่มมีการต่อสู้แย่งชิงปัดแข้งปัดขาก่อให้เกิดวิกฤติทางการเมืองครั้งแล้วครั้งเล่า นับแต่ปี พ.ศ.2475 เป็นต้นมา ภายในเวลาสั้น ๆ แค่ 80 ปี ประเทศไทยผ่านการรัฐประหารโดยกองทัพ 26 ครั้ง ใช้รัฐธรรมนูญ 18 ฉบับ และมีนายกรัฐมนตรี 27 คน มีนายกรัฐมนตรีเพียงคนเดียวที่สามารถฝืนอยู่ได้ครบเทอมคือ 4 ปี นั่นก็คือทักษิณ แต่ยังคงถูกโค่นล้มโดยทางกองทัพในปี 2549
วิกฤติการเมืองของไทยในปัจจุบัน ก็มีต้นสายปลายเหตุมาจากการต่อสู้แย่งชิงอำนาจการควบคุมการเมืองและเศรษฐกิจภายในกลุ่มปกครองด้วยกันเองจนถึงขั้นแตกหัก แต่ว่า กองทัพเสื้อแดงที่ผงาดขึ้นเพื่อคัดค้านการเมืองเอกาธิปไตยภายหลังการรัฐประหาร ปี 2549 ได้พัฒนากลายเป็นขบวนการประชาธิปไตยที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ของประเทศไทย
กำลังของกองทัพเสื้อแดงในระยะแรก มาจากผู้สนับสนุนทักษิณพรรคการเมืองที่นำโดยทักษิณ มหาเศรษฐีจากธุรกิจสื่อสารโทรคมนาคมได้รับชัยชนะในการเลือกตั้งใหญ่ปี 2544 ตั้งรัฐบาลผสมที่ใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ของไทย และกลายเป็นนายกรัฐมนตรีเพียงคนเดียวที่สามารถอยู่ได้ครบเทอม 4 ปีนับแต่ปี 2475 เป็นต้นมา ในสมัยที่ทักษิณกุมอำนาจ รัฐบาลได้ดำเนินระบบรักษาสุขภาพถ้วนหน้า และนโยบายช่วยเหลือเกื้อกูลชาวนาในชนบท ได้รับความนิยมจากประชาชนคนยากคนจนจำนวนมาก ในเวลาเดียวกับที่ทักษิณดำเนินนโยบายประชานิยมซึ่งกล่าวสำหรับคนยากคนจนแล้วมีความหมายอันยิ่งยวดแล้ว ก็ไม่ลืมอุ้มชูกลุ่มทุนเพื่อนพ้องน้องพี่ที่เจริญขึ้นใหม่ เป็นเหตุให้ปะทะปะทังกับกลุ่มทุนอิทธิพลเก่าฝ่ายพิทักษ์จ้าวที่มีมาแต่ดั้งเดิม ถึงแม้ว่ารัฐบาลทักษิณถูกโค่นล้มโดยรัฐประหารในปี 2549 แต่การเลือกตั้งในเวลาต่อมายังคงเป็นพรรคการเมืองที่นิยมทักษิณได้รับชัยชนะ ฝ่ายพิทักษ์จ้าวจึงระดมกองทัพเสื้อเหลืองทำการชุมนุมสำแดงกำลังแบบฟาสซิสต์อีกครั้ง และใช้วิธีที่ไม่เป็นประชาธิปไตยโค่นล้มรัฐบาลซึ่งนำโดยพรรคการเมืองที่นิยมทักษิณ
ถึงแม้ว่ากองทัพเสื้อแดงเริ่มจากมวลชนที่สนับสนุนทักษิณ แต่ว่าก็ได้พัฒนาเป็นขบวนการประชาธิปไตยของประชาชนที่ก้าวพ้นทักษิณไปแล้วอย่างรวดเร็ว ภายในกองทัพเสื้อแดงมีประชาชนคนธรรมดาไม่น้อยที่คัดค้านการครองความเป็นเจ้าของกลุ่มปกครองขุนนางหัวกะทิฝ่ายพิทักษ์จ้าวและต่อสู้เพื่อประชาธิปไตย สมาชิกของกองทัพเสื้อแดงไม่น้อยไม่ใช่ผู้สนับสนุนทักษิณ พวกเขาทนไม่ได้ที่เห็นกลุ่มปกครองที่ขึ้นสู่อำนาจด้วยวิธีไม่ผ่านการเลือกตั้งแบบประชาธิปไตยดำเนินนโยบายกดขี่ขูดรีดประชาชนวางอำนาจบาตรใหญ่ต่อไป กำลังหลักของกองทัพเสื้อแดงมาจากประชาชนคนยากคนจนในชนบท และมีไม่น้อยเป็นชาวเมืองที่ยากจนและชนชั้นกรรมกร สิ่งที่พวกเขาต่อสู้ช่วงชิงนั้นไม่ใช่แค่ประชาธิปไตย ยังรวมถึงการเปลี่ยนแปลงระบบโครงสร้างสังคมที่ไม่เป็นธรรมอีกด้วย ดังนั้น กองทัพเสื้อแดงนอกจากเป็นขบวนการต่อสู้เพื่อประชาธิปไตยของคนยากคนจนแล้ว ยังเป็นขบวนการต่อสู้แสวงการปลดปล่อยและช่วงชิงความเป็นธรรมของสังคมของมวลชนที่ถูกกดขี่อีกด้วย
กองทัพเสื้อแดงถูกปราบปรามด้วยกำลังรุนแรงโดยกองทัพไทยในเดือนเมษายนปี 2552 แต่ว่าไม่สามารถกดการเคลื่อนไหวของทั้งขบวนการลงไปได้ และในเดือนมีนาคม 2553 ได้รวมพลสำแดงกำลังอันมหาศาลเขย่าขวัญกลุ่มปกครองขุนนางหัวกะทิในกรุงเทพ กองทัพเสื้อแดงต้องเผชิญหน้ากับกลไกการปราบปรามทางทหารอันใหญ่โตมหึมาที่ติดอาวุธชั้นเยี่ยมแต่ว่ากองทัพเสื้อแดงไม่หวาดหวั่น ยังเตรียมต่อสู้ถึงที่สุด เป็นไปได้ที่กองทัพเสื้อแดงภายหลังถูกปราบปรามอย่างบ้าคลั่งรอบใหม่แล้ว ถูกบีบให้ชะงักกลางคัน กระทั่งมีแกนนำกองทัพเสื้อแดงบางคนอาจประนีประนอมกับรัฐบาลอภิสิทธิ์ที่หนุนหลังโดยกองทัพ แต่ว่าขบวนการกองทัพเสื้อแดงจะไม่เงียบหายไปง่าย ๆ เป็นไปได้ว่าจะเข้มแข็งเติบใหญ่ต่อไป สั่นสะเทือนอำนาจครองความเป็นเจ้าของชนชั้นปกครองไทย
การระดมพลและการต่อสู้ของกองทัพเสื้อแดง ได้แสดงให้ชาวโลกเห็นว่านี่เป็นขบวนการของมวลชนรากหญ้าเพื่อประชาธิปไตยที่ประกอบจากประชาชนผู้ ใช้แรงงานธรรมดา ๆ การต่อสู้ของกองทัพเสื้อแดง ได้เผยให้เห็นความจริงข้อหนึ่ง รากเหง้าที่แท้จริงของวิกฤติสังคมไทยคือการกดขี่ทางชนชั้น กองทัพเสื้อแดงยังได้ตีแผ่ธาตุแท้อันโหดร้ายป่าเถื่อนที่คลุ้งไปด้วยกลิ่นคาวเลือดของรัฐบาลที่หนุนหลังโดยกองทัพ รัฐบาลนี้ไม่เสียดายที่จะผ่านวิธีการปราบปรามอย่างโหดร้ายนองเลือดและเหยียบย่ำทำลายสิทธิมนุษยชนไปรักษาอำนาจการปกครองของตน
การต่อสู้ของกองทัพเสื้อแดง ทำให้ชาวบ้านธรรมดา ๆ กลายเป็นผู้นำขบวนการประชาชน กองทัพเสื้อแดงพากันจัดตั้งในชุมชนคนยากคนจนชาวบ้านสามัญชนคนธรรมดาที่ยามปกติถูกขจัดอยู่นอกวงการกำหนดนโยบายทางการเมือง มาบัดนี้ได้เข้ามีส่วนร่วมทางการเมืองที่จะกำหนดชีวิตและอนาคตของพวกเขาเอง และเพื่อทะลวงการปิดล้อมสื่อทำให้ชาวบ้านธรรมดาไม่น้อยกลายเป็นผู้เชี่ยวชาญอินเทอร์เนต เป็นนักรบไซเบอร์ถ่ายทอดเสียงจากมวลชน ไปตอบโต้ฝ่ายกุมอำนาจที่ใช้วิธีการสกปรก เลวทรามต่ำช้าทุกชนิดไปมอมหน้า ใส่ร้ายป้ายสีกองทัพเสื้อแดง ในกระบวนการต่อสู้ของกองทัพเสื้อแดง ยังได้ทลายจิตสำนึกของสามัญชนคนธรรมดาที่จงรักภักดีต่อพระราชาในฐานะพสกนิกรที่มีมาเป็นเวลายาวนาน พวกเขาเห็นได้ชัดเจนว่าพระราชาไม่ได้ยืนเคียงข้างประชาชน
กองทัพเสื้อแดงไม่หวาดหวั่นต่อการปราบปรามของฝ่ายทหาร ท้าทายกลไกอำนาจที่ทรงอิทธิพล แสดงให้เห็นว่าขบวนการประชาธิปไตยจะไม่ล้มลงง่ายจากห่ากระสุนที่สาดใส่ ในระหว่างประลองกำลังระหว่างกองทัพเสื้อแดงกับฝ่ายทหาร ยังทำให้ฝ่ายตำรวจกับทหารเกิดความแตกแยกภายใน ทหารตำรวจชั้นล่างไม่น้อยมีใจเอนเอียงไปทางเห็นอกเห็นใจกองทัพเสื้อแดง กระทั่งมีตำรวจบางคนยิงปืนตอบโต้ฝ่ายกองทัพเพื่อคุ้มครองผู้บาดเจ็บของผู้ชุมนุมคนเสื้อแดง
ความท้าทายที่กองทัพเสื้อแดงต้องเผชิญนั้นลำบากยากเข็ญ ขบวนการประชาธิปไตยที่มาจากมวลชนพื้นฐานนี้จะยืนหยัดให้ถึงที่สุดอย่างไรนั้นยืนยันได้ว่าเต็มไปด้วยอุปสรรคนานัปการ
รัฐบาลนายอภิสิทธิ์ไม่ใช่รัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้งโดยประชาธิปไตยพรรคประชาธิปัตย์ที่นำโดยนายอภิสิทธิ์ไม่เคยชนะการเลือกตั้ง นายอภิสิทธิ์ขึ้นกุมอำนาจได้ก็ด้วยการหนุนหลังของกองทัพ คณะองคมนตรี ศาล เป็นต้นซึ่งเป็นกลไกอำนาจรัฐ นี่ก็เป็นคำตอบว่าทำไม่รัฐบาลนายอภิสิทธิ์จึงหวาดกลัวการเลือกตั้ง เพื่อกุมอำนาจต่อไป พิทักษ์รักษาผลประโยชน์ขกงกลุ่มปกครองขุนนางหัวกะทิ ประกาศ พ.ร.ก. ภาวะฉุกเฉิน จำกัดเสรีภาพของสื่อ บงการกองทัพแปรกรุงเทพเป็นสนามรบ สาดกระสุนใส่มวลชนที่ชุมนุมสำแดงกำลังเรียกร้องประชาธิปไตย
รัฐบาลนายอภิสิทธิ์ตีหน้าเศร้าเล่าความเท็จบอกว่ามี “ผู้ก่อการร้าย” แฝงตัวอยู่ในกองทัพเสื้อแดง ส่งนักแม่นปืนและหน่วยล่าสังหารเข่นฆ่าชาวบ้านธรรมดาในกรุงเทพ คนที่ถูกทางกองทัพฆ่าตายนั้น มีเจ้าหน้าหน่วยกู้ชีวิต นักข่าว ยังมีเด็กเล็ก กองทัพเสื้อแดงส่วนใหญ่เพียงใช้อาวุธที่กำลังทำลายจำกัดซึ่งผลิตขึ้นเองไปต่อต้านการโจมตีอันดุเดือดรุนแรงของกองทัพ
ภายกลังจากการปราบปรามอย่าบ้าคลั่งรอบแล้วรอบเล่า รัฐบาลนายอภิสิทธิ์ซึ่งขึ้นสู่อำนาจโดยวิถีทางที่ไม่เป็นประชาธิปไตย ก็หมดความชอบธรรมใด ๆ หลงเหลืออยู่แล้ว สถานการณ์ทางการเมืองของไทยในเวลานี้เป็นสถานการณ์ที่ไปไม่รอดแล้ว ถ้าหากรัฐบาลนายอภิสิทธิ์ประกาศยุบสภาเลือกตั้งใหม่ทันทีและประกาศหยุดยิง การใช้ความรุนรุนบนท้องถนนในกรุงจะหยุดลงทันที และกองทัพเสื้อแดงก็จะยอมถอนตัวออกจากที่ชุมนุม นายอภิสิทธิ์ไม่มีเหตุผลใด ๆที่จะยึดติดกับตำแหน่งนายกรัฐมนตรียกเว้นเขายอมตัวเป็นนักเผด็จการหมัดเหล็กที่หนุนหลังโดยกองทัพ(แท้จริงเขาได้แสดงตัวเป็นนักเผด็จการไปแล้ว)
กองทัพเสื้อเหลืองที่เป็นปฏิปักษ์กับกองทัพเสื้อแดง ได้ผัดหน้าทาแป้งขึ้นสู่เวทีอยู่พักหนึ่งในวิกฤติการเมืองครั้งนี้ ออกมาในรูปของ “คนเสื้อหลากสี” ปกป้องสถาบัน เรียกร้องให้รัฐบาลใช้วิธีการปราบปรามอย่างแข็งกร้าวต่อการชุมนุมของกองทัพเสื้อแดง กองทัพเสื้อเหลืองโดยพื้นฐานแล้วก็คือพันธมิตรที่สุมหัวกันของกลุ่มปกครองขุนนางหัวกะทิ การก่อรูปมีสาเหตุสำคัญเพื่อโค่นล้ม “อิทธิพลที่เจริญขึ้นใหม่” ของทักษิณที่คุกคามต่อผลประโยชน์ของกลุ่มอิทธิพลอนุรักษ์กษัตริย์นิยม เพื่อพิทักษ์รักษาอำนาจครองความเป็นเจ้าของกลุ่มปกครองขุนนางหัวกะทิ กองทัพเสื้อเหลืองไม่เสียดายใช้วิธีรัฐประหารโดยกองทัพ เหยียบย่ำทำลายรัฐธรรมนูญ และการปลุกระดมแบบฟาสซิสต์ เป็นต้น ขัดขวางการต่อสู้ช่วงชิงประชาธิปไตยที่แท้จริงและความเป็นธรรมของสังคมของคนยากคนจนซึ่งเป็นคนส่วนใหญ่ของประเทศไทย กองทัพเสื้อเหลืองซึ่งเป็นพวกลัทธิชาตินิยมคับแคบและพวกรักชาติแบบหลับหูหลับตา กระทั่งเห็นว่าคนจน “โง่เขลา” ฉะนั้นไม่ควรมีสิทธิลงคะแนนเสียง กองทัพเสื้อเหลืองภายหลังการรัฐประหารปี 2549 แล้วก็ประกาศว่าได้บรรลุภาระหน้าที่แล้วพากันสลายแต่หลังจากพ่ายแพ้การเลือกตั้งในปี 2551 จึงดำเนินการปลุกระดมแบบฟาสซิสต์อีกครั้ง แต่กลับไม่ได้รับกระสุนของฝ่ายกองทัพแม้แต่นัดเดียวข้อเรียกร้องพื้นฐานของกองทัพเสื้อเหลืองคือ กลบฝังประชาธิปไตยลิดรอนสิทธิลงคะแนนเสียงของคนจนซึ่งเป็นคนส่วนใหญ่ของประเทศ
กองทัพไทยเรียกว่ามีชื่อเสียงชั่วร้ายและเหม็นโฉ่ในประวัติศาสตร์ของไทยกองทัพไทยเริ่มควบคุมอำนาจรัฐนับแต่ปี 2475 เป็นต้นมา จนถึงปี 2516 ภายหลังจากการต่อสู้อาบเลือดเพื่อประชาธิปไตย ประชาธิปไตยที่มีอายุสั้น ๆ จากปี 2516 ถึงปี 2519 ก็จบสิ้นลงโดยการรัฐประหารของฝ่ายกองทัพการลุกขึ้นสู้ของประชาชนในเดือนพฤษภาคมปี 2535 ก็ถูกปราบปรามอย่างนองเลือดโดยกองทัพอีก จากวันที่ 17-19 พฤษภาคม กองทัพใช้อาวุธสงครามสังหารประชาชนตายไป 48 คน เดือนเมษายนปี 2552 กองทัพใช้อาวุธสงครามปราบปรามกองทัพเสื้อแดง เวลาผ่านไปเพียงปีเดียว ก็ทำการสังหารหมู่กองทัพเสื้อแดงอีกครั้ง ทำให้มีคนตายและบาดเจ็บมากกว่าครั้งใด ๆ ในฐานะที่เป็นองค์ประกอบส่วนหนึ่งของกลุ่มปกครองขุนนางหัวกะทิ ฝ่ายกองทัพไทยก็ได้ชื่อว่าคอรัปชั่นโกงกินและบ้าอำนาจนอกจากทำการปราบปรามอย่างนองเลือดต่อขบวนการประชาธิปไตยในปี 2519 ปี 2535 ปี 2552 และปี 2553 แล้ว กองทัพไทยยังก่ออาชญากรรมชนิดต่าง ๆ ต่อชาวมุสลิมทางภาคใต้ของไทย กระพือข่าวว่าพวกเขาเป็น“พวกลัทธิก่อการร้าย” แท้ที่จริงแล้ว กองทัพไทยจึงเป็นพวกก่อการร้ายตัวจริง
ที่ไหนมีการกดขี่ ที่นั่นก็มีการต่อต้าน สังคมไทยไม่เป็นธรรมและไม่เสมอภาคมาเป็นเวลายาวนาน ได้สะสมเชื้อไฟการต่อสู้ต่อต้านในหมู่ประชาชนคนยากจน และการเหยียบย่ำทำลายประชาธิปไตยของกลุ่มปกครองขุนนางหัวกะทิซึ่งมีรัฐบาลนายอภิสิทธิ์เป็นตัวแทน ก็ยิ่งเป็นการจุดชนวนให้กับการต่อสู้ต่อต้านของประชาชนพื้นฐานของไทย
มีองค์กรสิทธิมนุษยชนบางองค์กรเรียกร้องให้ “ทั้งสองฝ่าย” ยุติการใช้ความรุนแรง แท้ที่จริงแล้ว ในวิกฤติของไทยในปัจจุบัน มีแต่ฝ่ายกองทัพที่พิทักษ์รักษากลุ่มปกครองขุนนางหัวกะทิเท่านั้นที่ใช้ความรุนแรงสุดขั้วกระทำต่อผู้ชุมนุมส่วนใหญ่ที่มีแต่ 2 มือเปล่า ถ้าหากกองทัพเสื้อแดงไม่ใช้อาวุธเก่า ๆ ผุ ๆ ที่ประดิษฐ์ขึ้นเองไปป้องกันตัว คนที่ถูกฝ่ายกองทัพสังหารอย่างเลือดเย็นจะต้องมีมากกว่านี้อย่างแน่นอน
นี่เป็นสงครามชนชั้นครั้งหนึ่ง เป็นสงครามที่ก่อขึ้นโดยชนชั้นกลุ่มทุนขุนนางหัวกะทิเพื่อกดบีบและหยุดยั้งการต่อสู้เพื่อประชาธิปไตยของประชาชนผู้ใช้แรงงาน ในการต่อสู้เพื่อความเป็นธรรมของสังคมและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ กองทัพเสื้อแดงได้พิสูจน์ให้เห็นถึงความมีวินัย ความกล้าหาญและมุมานะอดทนเป็นที่น่าประทับใจของผู้คนเป็นอย่างยิ่ง ควรค่าแก่การคารวะอย่างเคร่งขรึมที่สุดจากพวกเรา
กองทัพเสื้อแดงได้เปลี่ยนแปลงโฉมหน้าการเมืองของสังคมไทยแล้ว ถ้าหากขบวนการของกองทัพเสื้อแดงสามารถอาศัยพลังของประชาชนไปโค่นล้มรัฐบาลขุนนางหัวกะทิที่คัดค้านประชาธิปไตย (โดยไม่ผ่านจากการยึดอำนาจรัฐประหารของกองทัพที่ฟันใกล้จะหลุดหมดปากแล้ว) จะต้องมีความหมายอย่างใหญ่หลวงต่อขบวนการช่วงชิงประชาธิปไตยและความเป็นธรรมของสังคมของมวลประชามหาชนไทยอย่างแน่นอน กองทัพเสื้อแดงจะถูกโจมตีและบอบช้ำอย่างหนักจากการปราบปรามอันบ้าคลั่งในหลายวันมานี้ แต่ขบวนการครั้งนี้จะไม่เงียบหายไปง่าย ๆ ประชาชนผู้ใช้แรงงานที่ยากจนทั้งในเมืองและชนบท ภายหลังผ่านการปลุกระดมและต่อสู้อย่างมีการจัดตั้งครั้งนี้แล้ว ได้สะสมบทเรียนการต่อสู้อันสำคัญ ในด้านความสำนึกทางการเมืองก็ได้รับการยกระดับสูงขึ้น เป็นกำลังผลักดันที่สำคัญของขบวนการมวลชนในอนาคต หนทางการต่อสู้เพื่อช่วงชิงประชาธิปไตยและความเป็นธรรมของสังคมของประชาชนไทยยังอีกยาวไกลและขรุขระไม่ราบเรียบ แต่ว่ามีคนอันมากมายได้ตัดสินใจเด็ดเดี่ยวก้าวเดินต่อไปด้วยฝีก้าวอันมั่นคงแล้ว
ต้นฉบับภาษาจีน
泰国人民民主运动路漫漫
[ 2010/05/18 20:23 | by 安那琪 ]
泰国红衫军自2010年3月14日开始再次聚集在首都曼谷,要求阿披实政府下台并重新举行选举。3月14日的50万人大集会,是泰国历史上规模最大的一次争取民主大集会。得到军方、枢密院、大财阀、王室等保守反动派支撑的民主党阿披实政府,于4月开始向红衫军展开血腥暴力的镇压,4月10日的一场军方企图清场行动中造成25人丧命,过后发生零星的暴力事件,到了5月13日,军方在阿披实政府的指使下再次强行驱散扎营在曼谷市中心的红衫军,酿成激烈的冲突,直到5月17日,已经有36人丧生。泰国军队除了切断红衫军的水电供应和通讯,还以荷枪实弹疯狂攻击红衫军示威者。5月19日,军方出动坦克向红衫军驻扎在曼谷市中心商业区的大本营反动猛烈进攻,红衫军领袖为了避免更多人白白牺牲,无奈宣布解散维持了两个月的示威集会,并集体向警方自首。不过,仍有很多对政府镇压深感悲愤的红衫军仍坚持抗争,曼谷市区多处起火,政府实行宵禁,加强对媒体的控制,其他省市仍有好些不愿解散的红衫军继续抗争。
从2010年4月至5月短短一个多月内,死亡人数超过70人,近2000人因伤送院。阿披实政府对红衫军争取民主运动的残暴镇压,为泰国人民争取民主的历史写下另以页血迹斑斑的篇章。
泰国人民争取民主的历史源远流长,也充满着无数平民百姓的血泪。泰国社会一直以来遭到王室、保皇派、大财阀、贪腐政府和军方所组成的官僚精英统治集团所支配,国家财富被它们瓜分,政治权力被它们垄断,无论是城市或乡区,贫穷人民的声音都不受到重视。泰国是个极为不平等的社会,财富集中在少数官僚精英统治集团手上,而这个集团内部为分赃的勾心斗角不断产生政治危机。自1932年以来,短短的不到80年期间,泰国经历了26场军事政变,制定过18部宪法,以及27任首相。只有一名首相能过熬过完整的4年任期,那就是他信,但是仍然于2006年被军方推翻。
泰国目前的政治危机,也是源于统治集团为控制政治经济权力而闹翻的纠纷。不过,2006年的军事政变后开崛起反对寡头政治的红衫军,已经发展成为泰国历史上规模最大的一场民主运动。
最初组成红衫军的力量,来自他信的支持者。电信业富豪他信领导的政党于2001年大选中胜出,组成了当时泰国史上最大的执政联盟,并成为了1932年以来唯一一个能够渡过4年任期的首相。他信执政时期,政府推行了全民医疗保健体制,以及协助乡村农民的政策,获得了很多贫穷人民的欢迎。他信实行着对泰国穷人来说意义非常重大的民粹主义政策的同时,也不忘扶持自己的新兴资本朋党集团,因此冲击着传统保皇派资本的旧势力。尽管他信政府在2006年的军事政变被推翻,过后所举行的选举仍然是亲他信的政党胜出,保皇派就再次发动黄衫军进行法西斯式示威,并通过非民主手段推翻新他信政党所领导的民选政府。
尽管红衫军开始于支持他信的民众,但是很快的就发展为一场超越他信的人民民主运动。红衫军当中有很多反对保皇派官僚精英统治集团霸权及争取民主的普通人民。很多红衫军成员都不是他信的支持者,他们是无法忍受通过非民选手段上台实行压榨人民政策的统治集团继续横行霸道下去。红衫军的主力是来自乡区的贫穷人民,也有很多城市贫民和工人阶级,他们争取的不只是民主,也包括了改变目前泰国不公的社会体制。因此,红衫军既是一场贫穷人民争取民主的运动,也是一场被压迫群众寻求解放、争取社会正义的运动。
红衫军于2009年4月遭到泰国军队的暴力镇压,但是却无法将整个运动压制下去,并于2010年3月以更浩大的声势震撼了曼谷的保皇派官僚精英统治集团。红衫军正面对的是装备精良的 庞大军事镇压机器,但是红衫军并不退缩,还准备抗争到底。红衫军可能会在新一轮的疯狂镇压中,被迫中断,甚至有红衫军领导准备跟军方撑腰的阿披实政府妥协,但是红衫军运动将不会那么容易平息,而且还可能会继续壮大,冲击整个泰国统治阶级的霸权。
红衫军的动员及抗争,向世人展示了这是一场由普通劳动人民所组成争取民主的草根群众运动。红衫军的抗争,揭露了一个事实,今天泰国社会危机的真正根源是阶级压迫。红衫军也揭露了当前军方支撑的政府之血腥残暴本质,这个政府不惜通过血腥残暴的镇压,以及践踏民主人权的方式,去维持其统治权力。
红衫军的抗争,让很多普通老百姓变成了人民运动的领导,红衫军纷纷在贫民社区组织起来,
平时被排斥在政治决策外的平民百姓得以积极参与在决定他们生活前途的政治动员中。很多平民也为了突破媒体的封锁而把自己变成互联网专家,发布来自民众的声音,去反击当权者对红衫军各种卑劣的抹黑。红衫军的抗争过程中,也打破了普通人民长久以来对国王顺从效忠的臣民思维,他们很清楚看到国王并不是站在人民的这一边。
红衫军不惧军方的镇压,挑战着国家暴力机器的权威,显示着民主运动并不会因为乱枪扫射就轻易倒下的。红衫军跟军方周旋的过程,也造成了警方和军方内部的分裂。很多底层的军警都倾向于同情红衫军,甚至有警员为了掩护受伤的红衫军示威者而向军方开枪还击。
红衫军所面对的挑战是艰巨的,这股来自基层群众的民主运动要如何坚持到底,肯定是充满着重重困阻。
阿披实政府并不是一个民选的政府,阿披实领导的民主党不曾赢过任何选举。阿披实是在得到军方、枢密院、法院等国家机器撑腰而上台执政的,这就是为何阿披实政府害怕举行选举。阿披实政府为了继续执政以捍卫官僚精英统治集团的利益,颁布紧急法令,压制媒体自由,指使军队将曼谷变成战区,开枪镇压要求民主的示威民众。
阿披实政府编造谎言指责有“恐怖分子”混在红衫军里头,派出狙击手和暗杀队在曼谷杀害平民百姓。被军方残酷杀害的人,包括了救护人员、记者,还有小孩。一部分的红衫军只能以自制的杀伤力有限的武器,去抵抗军队的火力强大的攻击。
通过非民主途径上台阿披实政府在连番疯狂镇压后,已经没有任何的合法性。今天的泰国政治局面是个死局。如果阿披实政府立刻宣布解散国会重新选举,并且颁布停火令,曼谷街头的暴力冲突将马上停止,而红衫军也会愿意撤离。阿披实已经没有任何理由去霸占着首相职位,除非他要成为军方撑腰的铁腕独裁者(事实上他已经表现为一个独裁者)。
跟红衫军对立的黄衫军,在最近一次的政治危机中粉末登场了一阵,以“杂色军”的姿态搞了几场拥护泰王、呼吁政府以强硬手段镇压红衫军的示威。黄衫军基本上就是官僚精英统治集团的乌合之众联盟,其成形主要原因是为了推翻威胁着保皇派保守势力集团利益的他信“新兴势力”。黄衫军为了维持官僚精英统治集团的霸权,不惜借助军事政变、践踏民主宪法、法西斯式动员等手段,阻扰泰国占大多数的穷人争取真正的民主和社会正义。也是狭隘民族主义者兼盲目爱国分子的黄衫军,甚至认为泰国的穷人“愚蠢”,所以不应该享有投票权。黄衫军在2006年军事政变后就称任务完成而作鸟兽散,在输掉选举后于2008年死灰复燃地进行法西斯式动员,却没有挨上军方的任何一颗子弹。黄衫军的基本诉求,就是埋葬泰国民主,剥夺占大多数的穷人们的投票权!
泰国军方在泰国的历史上可谓恶名昭彰。泰国军方于1932年开始就掌控国家大权,直到1973年的一场浴 血民主抗争后才被推翻。1973年至1976年间的短暂民主,被一场血腥的军事政变终结。1992年5月的人民起义,同样遭到军方的血腥镇压,军队在5月17-19日期间开枪杀死48人。军方于2009年4月开枪镇压红衫军,时隔一年后,再次向红衫军大开杀戒,而死伤人数更多。作为泰国官僚精英统治集团的有机组成部分,泰国军方也是出名贪污滥权,除了1973年、1976年、1992年、2009年、2010年对民主运动的血腥镇压,泰国军方也在泰南对穆斯林干下种种暴行,为“恐怖主义”煽风点火。事实上,泰国军方才是真正的恐怖分子。
哪里有压迫,哪里就有反抗。泰国社会长年的不公和不平等,已经在贫穷人民之间累积起无数的反抗火种,而黄衫军、阿披实政府等为代表的官僚精英统治集团对民主的践踏,更是点燃泰国基层人民群起进行抗争的导火线。
有些人权团体要求冲突“双方”停止使用暴力。事实上,在当前泰国的危机中,只有维护官僚精英统治阶级的军队一方,使用极端的暴力去对付大部分手无寸铁的示威者。如果红衫军不以破烂的自制武器去自卫,被军方冷血屠杀的人将会更多。
这是已经一场阶级战争,一场官僚精英资本财团阶级为压制城乡贫穷劳动人民争取民主而发动的战争。泰国红衫军在争取民主、人民尊严和社会正义的斗争中,展现了令人动容的纪律、勇气及毅力,值得我们致以最庄严的敬意。
红衫军已经改变了泰国社会的政治面貌。如果红衫军运动能够透过人民力量去推翻反民主的官僚精英政府(而不是通过老掉牙的军事政变夺权),那将对泰国群众争取民主和社会正义的运动,起着重大的意义。红衫军很可能在这几天的疯狂镇压中遭遇沉重打击,但是这场 运动不会那么容易平息下去。参与这场运动的城乡劳动贫民,经历了这次有组织的动员及抗争,累积了相当重要的斗争经验,而在政治意识上也大大提升,是泰国未来群众运动的重要推动力。泰国人民争取民主与社会正义的路途仍然漫长且崎岖不平,但是已经有很多人用坚定的脚步走下去……
กองทัพเสื้อแดงไทยได้เริ่มชุมนุมใหญ่อีกครั้งที่นครหลวงกรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 14 มีนาคม 2553 เรียกร้องรัฐบาลอภิสิทธิ์ยุบสภาเลือกตั้งใหม่ การชุมนุมใหญ่ที่มีคนเข้าร่วมถึง 500,000 คนในวันที่ 14 มีนาคม เป็นการชุมนุมเรียกร้องประชาธิปไตยที่มีขนาดใหญ่ที่สุดครั้งหนึ่งในประวัติศาสตร์ของไทยรัฐบาลอภิสิทธิ์ของพรรคประชาธิปัตย์ซึ่งมีพวกปฏิกิริยาอนุรักษ์ โดยมีกองทัพ คณะองคมนตรี นายทุนขุนทรัพย์ และราชสำนักเป็นต้นหนุนหลังอยู่ ได้เริ่มดำเนินการปราบปรามกองทัพเสื้อแดงด้วยกำลังรุนแรงที่คลุ้งไปด้วยกลิ่นคาวเลือดในเดือนเมษายน ในปฏิบัติการขอพื้นที่คืนโดยกองทัพในวันที่ 10 เมษายนทำให้มีคนตาย 25 คน ต่อจากนั้นก็ยังมีเหตุการณ์รุนแรงเกิดขึ้นประปราย จนถึงวันที่ 13 พฤษภาคม กองทัพภายใต้การบงการของนายอภิสิทธิ์ได้ใช้กำลังเข้าสลายการชุมนุมของกองทัพเสื้อแดงซึ่งตั้งมั่นอยู่ใจกลางเมืองกรุงเทพ เกิดการปะทะอย่างรุนแรง จนถึงวันที่ 17 พฤษภาคม ก็มีคนตายแล้วถึง 36 คน กองทัพไทยนอกจากทำการตัดน้ำตัดไฟตัดการสื่อสารทุกชนิดแล้ว ยังใช้กระสุนจริงยิงใส่ผู้ชุมนุมอย่างบ้าคลั่ง วันที่ 19 พฤษภาคม กองทัพเคลื่อนรถถังเข้าโจมตีอย่างรุนแรงต่อกองทัพเสื้อแดงซึ่งตั้งทัพอยู่เขตการค้าใจกลางเมืองกรุงเทพ แกนนำกองทัพเสื้อแดงจำเป็นจำใจประกาศเลิกการชุมซึ่งกินเวลากว่า 2 เดือนเพื่อหลีกเลี่ยงการสูญเสียชีวิตผู้คนโดยเปล่าประโยชน์ และพากันเข้ามอบตัวต่อทางตำรวจ แต่ว่ายังคงมีชาวเสื้อแดงจำนวนมากที่มีอารมณ์โกรธแค้นต่อการปราบปรามของรัฐบาลยืนหยัดต่อสู้ต่อไป เกิดเพลิงลุกไหม้ใจกลางกรุงเทพหลายแห่ง รัฐบาลประกาศเคอร์ฟิว เสริมการควบคุมสื่อ แต่กองทัพเสื้อแดงในต่างจังหวัดหลายจังหวัดที่ไม่ยอมเลิกรายังคงทำการต่อสู้ต่อไป
ภายในเวลาสั้น ๆ เพียง 1 เดือนนับจากเดือนเมษายนถึงเดือนพฤษภาคมมีคนเสียชีวิตแล้วมากกว่า 70 คน และเกือบ 2,000 คนบาดเจ็บเข้ารักษาในโรงพยาบาล การปราบปรามอย่างโหดร้ายป่าเถื่อนต่อขบวนการช่วงชิงประชาธิปไตยของกองทัพเสื้อแดงของรัฐบาลนายอภิสิทธิ์ ได้เขียนบทบันทึกเลือดลงในประวัติศาสตร์การช่วงชิงประชาธิปไตยของประชาชนไทยอีกบทหนึ่ง
ประวัติศาสตร์การต่อสู้เพื่อให้ได้มาซึ่งประชาธิปไตยของประชาชนไทยมีความเป็นมาอันยาวนาน และก็เต็มไปด้วยเลือดและน้ำตาของประชาสามัญชนเป็นจำนวนมาก สังคมไทยแต่ไหนแต่ไรมาก็ถูกครอบงำโดยกลุ่มขุนนางหัวกะทิซึ่งมีองค์ประกอบจากราชสำนัก พวกนิยมกษัตริย์ ขุนทรัพย์ใหญ่รัฐบาลคอรัปชั่นโกงกินและกองทัพ โภคทรัพย์ของประเทศถูกพวกเขาแบ่งกันกิน อำนาจทางการเมืองถูกพวกเขาผูกขาด ไม่ว่าในเมืองหรือชนบทเสียงของคนยากคนจนไม่เคยได้รับความสนใจ ประเทศไทยเป็นสังคมที่ไม่เสมอภาคเท่าเทียมเป็นอย่างยิ่ง โภคทรัพย์ถูกรวมศูนย์อยู่ในมือของกลุ่มปกครองขุนนางหัวกะทิจำนวนน้อย และเพื่อแบ่งปันผลประโยชน์ภายในกลุ่มมีการต่อสู้แย่งชิงปัดแข้งปัดขาก่อให้เกิดวิกฤติทางการเมืองครั้งแล้วครั้งเล่า นับแต่ปี พ.ศ.2475 เป็นต้นมา ภายในเวลาสั้น ๆ แค่ 80 ปี ประเทศไทยผ่านการรัฐประหารโดยกองทัพ 26 ครั้ง ใช้รัฐธรรมนูญ 18 ฉบับ และมีนายกรัฐมนตรี 27 คน มีนายกรัฐมนตรีเพียงคนเดียวที่สามารถฝืนอยู่ได้ครบเทอมคือ 4 ปี นั่นก็คือทักษิณ แต่ยังคงถูกโค่นล้มโดยทางกองทัพในปี 2549
วิกฤติการเมืองของไทยในปัจจุบัน ก็มีต้นสายปลายเหตุมาจากการต่อสู้แย่งชิงอำนาจการควบคุมการเมืองและเศรษฐกิจภายในกลุ่มปกครองด้วยกันเองจนถึงขั้นแตกหัก แต่ว่า กองทัพเสื้อแดงที่ผงาดขึ้นเพื่อคัดค้านการเมืองเอกาธิปไตยภายหลังการรัฐประหาร ปี 2549 ได้พัฒนากลายเป็นขบวนการประชาธิปไตยที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ของประเทศไทย
กำลังของกองทัพเสื้อแดงในระยะแรก มาจากผู้สนับสนุนทักษิณพรรคการเมืองที่นำโดยทักษิณ มหาเศรษฐีจากธุรกิจสื่อสารโทรคมนาคมได้รับชัยชนะในการเลือกตั้งใหญ่ปี 2544 ตั้งรัฐบาลผสมที่ใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ของไทย และกลายเป็นนายกรัฐมนตรีเพียงคนเดียวที่สามารถอยู่ได้ครบเทอม 4 ปีนับแต่ปี 2475 เป็นต้นมา ในสมัยที่ทักษิณกุมอำนาจ รัฐบาลได้ดำเนินระบบรักษาสุขภาพถ้วนหน้า และนโยบายช่วยเหลือเกื้อกูลชาวนาในชนบท ได้รับความนิยมจากประชาชนคนยากคนจนจำนวนมาก ในเวลาเดียวกับที่ทักษิณดำเนินนโยบายประชานิยมซึ่งกล่าวสำหรับคนยากคนจนแล้วมีความหมายอันยิ่งยวดแล้ว ก็ไม่ลืมอุ้มชูกลุ่มทุนเพื่อนพ้องน้องพี่ที่เจริญขึ้นใหม่ เป็นเหตุให้ปะทะปะทังกับกลุ่มทุนอิทธิพลเก่าฝ่ายพิทักษ์จ้าวที่มีมาแต่ดั้งเดิม ถึงแม้ว่ารัฐบาลทักษิณถูกโค่นล้มโดยรัฐประหารในปี 2549 แต่การเลือกตั้งในเวลาต่อมายังคงเป็นพรรคการเมืองที่นิยมทักษิณได้รับชัยชนะ ฝ่ายพิทักษ์จ้าวจึงระดมกองทัพเสื้อเหลืองทำการชุมนุมสำแดงกำลังแบบฟาสซิสต์อีกครั้ง และใช้วิธีที่ไม่เป็นประชาธิปไตยโค่นล้มรัฐบาลซึ่งนำโดยพรรคการเมืองที่นิยมทักษิณ
ถึงแม้ว่ากองทัพเสื้อแดงเริ่มจากมวลชนที่สนับสนุนทักษิณ แต่ว่าก็ได้พัฒนาเป็นขบวนการประชาธิปไตยของประชาชนที่ก้าวพ้นทักษิณไปแล้วอย่างรวดเร็ว ภายในกองทัพเสื้อแดงมีประชาชนคนธรรมดาไม่น้อยที่คัดค้านการครองความเป็นเจ้าของกลุ่มปกครองขุนนางหัวกะทิฝ่ายพิทักษ์จ้าวและต่อสู้เพื่อประชาธิปไตย สมาชิกของกองทัพเสื้อแดงไม่น้อยไม่ใช่ผู้สนับสนุนทักษิณ พวกเขาทนไม่ได้ที่เห็นกลุ่มปกครองที่ขึ้นสู่อำนาจด้วยวิธีไม่ผ่านการเลือกตั้งแบบประชาธิปไตยดำเนินนโยบายกดขี่ขูดรีดประชาชนวางอำนาจบาตรใหญ่ต่อไป กำลังหลักของกองทัพเสื้อแดงมาจากประชาชนคนยากคนจนในชนบท และมีไม่น้อยเป็นชาวเมืองที่ยากจนและชนชั้นกรรมกร สิ่งที่พวกเขาต่อสู้ช่วงชิงนั้นไม่ใช่แค่ประชาธิปไตย ยังรวมถึงการเปลี่ยนแปลงระบบโครงสร้างสังคมที่ไม่เป็นธรรมอีกด้วย ดังนั้น กองทัพเสื้อแดงนอกจากเป็นขบวนการต่อสู้เพื่อประชาธิปไตยของคนยากคนจนแล้ว ยังเป็นขบวนการต่อสู้แสวงการปลดปล่อยและช่วงชิงความเป็นธรรมของสังคมของมวลชนที่ถูกกดขี่อีกด้วย
กองทัพเสื้อแดงถูกปราบปรามด้วยกำลังรุนแรงโดยกองทัพไทยในเดือนเมษายนปี 2552 แต่ว่าไม่สามารถกดการเคลื่อนไหวของทั้งขบวนการลงไปได้ และในเดือนมีนาคม 2553 ได้รวมพลสำแดงกำลังอันมหาศาลเขย่าขวัญกลุ่มปกครองขุนนางหัวกะทิในกรุงเทพ กองทัพเสื้อแดงต้องเผชิญหน้ากับกลไกการปราบปรามทางทหารอันใหญ่โตมหึมาที่ติดอาวุธชั้นเยี่ยมแต่ว่ากองทัพเสื้อแดงไม่หวาดหวั่น ยังเตรียมต่อสู้ถึงที่สุด เป็นไปได้ที่กองทัพเสื้อแดงภายหลังถูกปราบปรามอย่างบ้าคลั่งรอบใหม่แล้ว ถูกบีบให้ชะงักกลางคัน กระทั่งมีแกนนำกองทัพเสื้อแดงบางคนอาจประนีประนอมกับรัฐบาลอภิสิทธิ์ที่หนุนหลังโดยกองทัพ แต่ว่าขบวนการกองทัพเสื้อแดงจะไม่เงียบหายไปง่าย ๆ เป็นไปได้ว่าจะเข้มแข็งเติบใหญ่ต่อไป สั่นสะเทือนอำนาจครองความเป็นเจ้าของชนชั้นปกครองไทย
การระดมพลและการต่อสู้ของกองทัพเสื้อแดง ได้แสดงให้ชาวโลกเห็นว่านี่เป็นขบวนการของมวลชนรากหญ้าเพื่อประชาธิปไตยที่ประกอบจากประชาชนผู้ ใช้แรงงานธรรมดา ๆ การต่อสู้ของกองทัพเสื้อแดง ได้เผยให้เห็นความจริงข้อหนึ่ง รากเหง้าที่แท้จริงของวิกฤติสังคมไทยคือการกดขี่ทางชนชั้น กองทัพเสื้อแดงยังได้ตีแผ่ธาตุแท้อันโหดร้ายป่าเถื่อนที่คลุ้งไปด้วยกลิ่นคาวเลือดของรัฐบาลที่หนุนหลังโดยกองทัพ รัฐบาลนี้ไม่เสียดายที่จะผ่านวิธีการปราบปรามอย่างโหดร้ายนองเลือดและเหยียบย่ำทำลายสิทธิมนุษยชนไปรักษาอำนาจการปกครองของตน
การต่อสู้ของกองทัพเสื้อแดง ทำให้ชาวบ้านธรรมดา ๆ กลายเป็นผู้นำขบวนการประชาชน กองทัพเสื้อแดงพากันจัดตั้งในชุมชนคนยากคนจนชาวบ้านสามัญชนคนธรรมดาที่ยามปกติถูกขจัดอยู่นอกวงการกำหนดนโยบายทางการเมือง มาบัดนี้ได้เข้ามีส่วนร่วมทางการเมืองที่จะกำหนดชีวิตและอนาคตของพวกเขาเอง และเพื่อทะลวงการปิดล้อมสื่อทำให้ชาวบ้านธรรมดาไม่น้อยกลายเป็นผู้เชี่ยวชาญอินเทอร์เนต เป็นนักรบไซเบอร์ถ่ายทอดเสียงจากมวลชน ไปตอบโต้ฝ่ายกุมอำนาจที่ใช้วิธีการสกปรก เลวทรามต่ำช้าทุกชนิดไปมอมหน้า ใส่ร้ายป้ายสีกองทัพเสื้อแดง ในกระบวนการต่อสู้ของกองทัพเสื้อแดง ยังได้ทลายจิตสำนึกของสามัญชนคนธรรมดาที่จงรักภักดีต่อพระราชาในฐานะพสกนิกรที่มีมาเป็นเวลายาวนาน พวกเขาเห็นได้ชัดเจนว่าพระราชาไม่ได้ยืนเคียงข้างประชาชน
กองทัพเสื้อแดงไม่หวาดหวั่นต่อการปราบปรามของฝ่ายทหาร ท้าทายกลไกอำนาจที่ทรงอิทธิพล แสดงให้เห็นว่าขบวนการประชาธิปไตยจะไม่ล้มลงง่ายจากห่ากระสุนที่สาดใส่ ในระหว่างประลองกำลังระหว่างกองทัพเสื้อแดงกับฝ่ายทหาร ยังทำให้ฝ่ายตำรวจกับทหารเกิดความแตกแยกภายใน ทหารตำรวจชั้นล่างไม่น้อยมีใจเอนเอียงไปทางเห็นอกเห็นใจกองทัพเสื้อแดง กระทั่งมีตำรวจบางคนยิงปืนตอบโต้ฝ่ายกองทัพเพื่อคุ้มครองผู้บาดเจ็บของผู้ชุมนุมคนเสื้อแดง
ความท้าทายที่กองทัพเสื้อแดงต้องเผชิญนั้นลำบากยากเข็ญ ขบวนการประชาธิปไตยที่มาจากมวลชนพื้นฐานนี้จะยืนหยัดให้ถึงที่สุดอย่างไรนั้นยืนยันได้ว่าเต็มไปด้วยอุปสรรคนานัปการ
รัฐบาลนายอภิสิทธิ์ไม่ใช่รัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้งโดยประชาธิปไตยพรรคประชาธิปัตย์ที่นำโดยนายอภิสิทธิ์ไม่เคยชนะการเลือกตั้ง นายอภิสิทธิ์ขึ้นกุมอำนาจได้ก็ด้วยการหนุนหลังของกองทัพ คณะองคมนตรี ศาล เป็นต้นซึ่งเป็นกลไกอำนาจรัฐ นี่ก็เป็นคำตอบว่าทำไม่รัฐบาลนายอภิสิทธิ์จึงหวาดกลัวการเลือกตั้ง เพื่อกุมอำนาจต่อไป พิทักษ์รักษาผลประโยชน์ขกงกลุ่มปกครองขุนนางหัวกะทิ ประกาศ พ.ร.ก. ภาวะฉุกเฉิน จำกัดเสรีภาพของสื่อ บงการกองทัพแปรกรุงเทพเป็นสนามรบ สาดกระสุนใส่มวลชนที่ชุมนุมสำแดงกำลังเรียกร้องประชาธิปไตย
รัฐบาลนายอภิสิทธิ์ตีหน้าเศร้าเล่าความเท็จบอกว่ามี “ผู้ก่อการร้าย” แฝงตัวอยู่ในกองทัพเสื้อแดง ส่งนักแม่นปืนและหน่วยล่าสังหารเข่นฆ่าชาวบ้านธรรมดาในกรุงเทพ คนที่ถูกทางกองทัพฆ่าตายนั้น มีเจ้าหน้าหน่วยกู้ชีวิต นักข่าว ยังมีเด็กเล็ก กองทัพเสื้อแดงส่วนใหญ่เพียงใช้อาวุธที่กำลังทำลายจำกัดซึ่งผลิตขึ้นเองไปต่อต้านการโจมตีอันดุเดือดรุนแรงของกองทัพ
ภายกลังจากการปราบปรามอย่าบ้าคลั่งรอบแล้วรอบเล่า รัฐบาลนายอภิสิทธิ์ซึ่งขึ้นสู่อำนาจโดยวิถีทางที่ไม่เป็นประชาธิปไตย ก็หมดความชอบธรรมใด ๆ หลงเหลืออยู่แล้ว สถานการณ์ทางการเมืองของไทยในเวลานี้เป็นสถานการณ์ที่ไปไม่รอดแล้ว ถ้าหากรัฐบาลนายอภิสิทธิ์ประกาศยุบสภาเลือกตั้งใหม่ทันทีและประกาศหยุดยิง การใช้ความรุนรุนบนท้องถนนในกรุงจะหยุดลงทันที และกองทัพเสื้อแดงก็จะยอมถอนตัวออกจากที่ชุมนุม นายอภิสิทธิ์ไม่มีเหตุผลใด ๆที่จะยึดติดกับตำแหน่งนายกรัฐมนตรียกเว้นเขายอมตัวเป็นนักเผด็จการหมัดเหล็กที่หนุนหลังโดยกองทัพ(แท้จริงเขาได้แสดงตัวเป็นนักเผด็จการไปแล้ว)
กองทัพเสื้อเหลืองที่เป็นปฏิปักษ์กับกองทัพเสื้อแดง ได้ผัดหน้าทาแป้งขึ้นสู่เวทีอยู่พักหนึ่งในวิกฤติการเมืองครั้งนี้ ออกมาในรูปของ “คนเสื้อหลากสี” ปกป้องสถาบัน เรียกร้องให้รัฐบาลใช้วิธีการปราบปรามอย่างแข็งกร้าวต่อการชุมนุมของกองทัพเสื้อแดง กองทัพเสื้อเหลืองโดยพื้นฐานแล้วก็คือพันธมิตรที่สุมหัวกันของกลุ่มปกครองขุนนางหัวกะทิ การก่อรูปมีสาเหตุสำคัญเพื่อโค่นล้ม “อิทธิพลที่เจริญขึ้นใหม่” ของทักษิณที่คุกคามต่อผลประโยชน์ของกลุ่มอิทธิพลอนุรักษ์กษัตริย์นิยม เพื่อพิทักษ์รักษาอำนาจครองความเป็นเจ้าของกลุ่มปกครองขุนนางหัวกะทิ กองทัพเสื้อเหลืองไม่เสียดายใช้วิธีรัฐประหารโดยกองทัพ เหยียบย่ำทำลายรัฐธรรมนูญ และการปลุกระดมแบบฟาสซิสต์ เป็นต้น ขัดขวางการต่อสู้ช่วงชิงประชาธิปไตยที่แท้จริงและความเป็นธรรมของสังคมของคนยากคนจนซึ่งเป็นคนส่วนใหญ่ของประเทศไทย กองทัพเสื้อเหลืองซึ่งเป็นพวกลัทธิชาตินิยมคับแคบและพวกรักชาติแบบหลับหูหลับตา กระทั่งเห็นว่าคนจน “โง่เขลา” ฉะนั้นไม่ควรมีสิทธิลงคะแนนเสียง กองทัพเสื้อเหลืองภายหลังการรัฐประหารปี 2549 แล้วก็ประกาศว่าได้บรรลุภาระหน้าที่แล้วพากันสลายแต่หลังจากพ่ายแพ้การเลือกตั้งในปี 2551 จึงดำเนินการปลุกระดมแบบฟาสซิสต์อีกครั้ง แต่กลับไม่ได้รับกระสุนของฝ่ายกองทัพแม้แต่นัดเดียวข้อเรียกร้องพื้นฐานของกองทัพเสื้อเหลืองคือ กลบฝังประชาธิปไตยลิดรอนสิทธิลงคะแนนเสียงของคนจนซึ่งเป็นคนส่วนใหญ่ของประเทศ
กองทัพไทยเรียกว่ามีชื่อเสียงชั่วร้ายและเหม็นโฉ่ในประวัติศาสตร์ของไทยกองทัพไทยเริ่มควบคุมอำนาจรัฐนับแต่ปี 2475 เป็นต้นมา จนถึงปี 2516 ภายหลังจากการต่อสู้อาบเลือดเพื่อประชาธิปไตย ประชาธิปไตยที่มีอายุสั้น ๆ จากปี 2516 ถึงปี 2519 ก็จบสิ้นลงโดยการรัฐประหารของฝ่ายกองทัพการลุกขึ้นสู้ของประชาชนในเดือนพฤษภาคมปี 2535 ก็ถูกปราบปรามอย่างนองเลือดโดยกองทัพอีก จากวันที่ 17-19 พฤษภาคม กองทัพใช้อาวุธสงครามสังหารประชาชนตายไป 48 คน เดือนเมษายนปี 2552 กองทัพใช้อาวุธสงครามปราบปรามกองทัพเสื้อแดง เวลาผ่านไปเพียงปีเดียว ก็ทำการสังหารหมู่กองทัพเสื้อแดงอีกครั้ง ทำให้มีคนตายและบาดเจ็บมากกว่าครั้งใด ๆ ในฐานะที่เป็นองค์ประกอบส่วนหนึ่งของกลุ่มปกครองขุนนางหัวกะทิ ฝ่ายกองทัพไทยก็ได้ชื่อว่าคอรัปชั่นโกงกินและบ้าอำนาจนอกจากทำการปราบปรามอย่างนองเลือดต่อขบวนการประชาธิปไตยในปี 2519 ปี 2535 ปี 2552 และปี 2553 แล้ว กองทัพไทยยังก่ออาชญากรรมชนิดต่าง ๆ ต่อชาวมุสลิมทางภาคใต้ของไทย กระพือข่าวว่าพวกเขาเป็น“พวกลัทธิก่อการร้าย” แท้ที่จริงแล้ว กองทัพไทยจึงเป็นพวกก่อการร้ายตัวจริง
ที่ไหนมีการกดขี่ ที่นั่นก็มีการต่อต้าน สังคมไทยไม่เป็นธรรมและไม่เสมอภาคมาเป็นเวลายาวนาน ได้สะสมเชื้อไฟการต่อสู้ต่อต้านในหมู่ประชาชนคนยากจน และการเหยียบย่ำทำลายประชาธิปไตยของกลุ่มปกครองขุนนางหัวกะทิซึ่งมีรัฐบาลนายอภิสิทธิ์เป็นตัวแทน ก็ยิ่งเป็นการจุดชนวนให้กับการต่อสู้ต่อต้านของประชาชนพื้นฐานของไทย
มีองค์กรสิทธิมนุษยชนบางองค์กรเรียกร้องให้ “ทั้งสองฝ่าย” ยุติการใช้ความรุนแรง แท้ที่จริงแล้ว ในวิกฤติของไทยในปัจจุบัน มีแต่ฝ่ายกองทัพที่พิทักษ์รักษากลุ่มปกครองขุนนางหัวกะทิเท่านั้นที่ใช้ความรุนแรงสุดขั้วกระทำต่อผู้ชุมนุมส่วนใหญ่ที่มีแต่ 2 มือเปล่า ถ้าหากกองทัพเสื้อแดงไม่ใช้อาวุธเก่า ๆ ผุ ๆ ที่ประดิษฐ์ขึ้นเองไปป้องกันตัว คนที่ถูกฝ่ายกองทัพสังหารอย่างเลือดเย็นจะต้องมีมากกว่านี้อย่างแน่นอน
นี่เป็นสงครามชนชั้นครั้งหนึ่ง เป็นสงครามที่ก่อขึ้นโดยชนชั้นกลุ่มทุนขุนนางหัวกะทิเพื่อกดบีบและหยุดยั้งการต่อสู้เพื่อประชาธิปไตยของประชาชนผู้ใช้แรงงาน ในการต่อสู้เพื่อความเป็นธรรมของสังคมและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ กองทัพเสื้อแดงได้พิสูจน์ให้เห็นถึงความมีวินัย ความกล้าหาญและมุมานะอดทนเป็นที่น่าประทับใจของผู้คนเป็นอย่างยิ่ง ควรค่าแก่การคารวะอย่างเคร่งขรึมที่สุดจากพวกเรา
กองทัพเสื้อแดงได้เปลี่ยนแปลงโฉมหน้าการเมืองของสังคมไทยแล้ว ถ้าหากขบวนการของกองทัพเสื้อแดงสามารถอาศัยพลังของประชาชนไปโค่นล้มรัฐบาลขุนนางหัวกะทิที่คัดค้านประชาธิปไตย (โดยไม่ผ่านจากการยึดอำนาจรัฐประหารของกองทัพที่ฟันใกล้จะหลุดหมดปากแล้ว) จะต้องมีความหมายอย่างใหญ่หลวงต่อขบวนการช่วงชิงประชาธิปไตยและความเป็นธรรมของสังคมของมวลประชามหาชนไทยอย่างแน่นอน กองทัพเสื้อแดงจะถูกโจมตีและบอบช้ำอย่างหนักจากการปราบปรามอันบ้าคลั่งในหลายวันมานี้ แต่ขบวนการครั้งนี้จะไม่เงียบหายไปง่าย ๆ ประชาชนผู้ใช้แรงงานที่ยากจนทั้งในเมืองและชนบท ภายหลังผ่านการปลุกระดมและต่อสู้อย่างมีการจัดตั้งครั้งนี้แล้ว ได้สะสมบทเรียนการต่อสู้อันสำคัญ ในด้านความสำนึกทางการเมืองก็ได้รับการยกระดับสูงขึ้น เป็นกำลังผลักดันที่สำคัญของขบวนการมวลชนในอนาคต หนทางการต่อสู้เพื่อช่วงชิงประชาธิปไตยและความเป็นธรรมของสังคมของประชาชนไทยยังอีกยาวไกลและขรุขระไม่ราบเรียบ แต่ว่ามีคนอันมากมายได้ตัดสินใจเด็ดเดี่ยวก้าวเดินต่อไปด้วยฝีก้าวอันมั่นคงแล้ว
ต้นฉบับภาษาจีน
泰国人民民主运动路漫漫
[ 2010/05/18 20:23 | by 安那琪 ]
泰国红衫军自2010年3月14日开始再次聚集在首都曼谷,要求阿披实政府下台并重新举行选举。3月14日的50万人大集会,是泰国历史上规模最大的一次争取民主大集会。得到军方、枢密院、大财阀、王室等保守反动派支撑的民主党阿披实政府,于4月开始向红衫军展开血腥暴力的镇压,4月10日的一场军方企图清场行动中造成25人丧命,过后发生零星的暴力事件,到了5月13日,军方在阿披实政府的指使下再次强行驱散扎营在曼谷市中心的红衫军,酿成激烈的冲突,直到5月17日,已经有36人丧生。泰国军队除了切断红衫军的水电供应和通讯,还以荷枪实弹疯狂攻击红衫军示威者。5月19日,军方出动坦克向红衫军驻扎在曼谷市中心商业区的大本营反动猛烈进攻,红衫军领袖为了避免更多人白白牺牲,无奈宣布解散维持了两个月的示威集会,并集体向警方自首。不过,仍有很多对政府镇压深感悲愤的红衫军仍坚持抗争,曼谷市区多处起火,政府实行宵禁,加强对媒体的控制,其他省市仍有好些不愿解散的红衫军继续抗争。
从2010年4月至5月短短一个多月内,死亡人数超过70人,近2000人因伤送院。阿披实政府对红衫军争取民主运动的残暴镇压,为泰国人民争取民主的历史写下另以页血迹斑斑的篇章。
红衫军:泰国史上最大的民主运动
กองทัพเสื้อแดง: ขบวนการประชาธิปไตยที่ใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ของไทย
泰国目前的政治危机,也是源于统治集团为控制政治经济权力而闹翻的纠纷。不过,2006年的军事政变后开崛起反对寡头政治的红衫军,已经发展成为泰国历史上规模最大的一场民主运动。
最初组成红衫军的力量,来自他信的支持者。电信业富豪他信领导的政党于2001年大选中胜出,组成了当时泰国史上最大的执政联盟,并成为了1932年以来唯一一个能够渡过4年任期的首相。他信执政时期,政府推行了全民医疗保健体制,以及协助乡村农民的政策,获得了很多贫穷人民的欢迎。他信实行着对泰国穷人来说意义非常重大的民粹主义政策的同时,也不忘扶持自己的新兴资本朋党集团,因此冲击着传统保皇派资本的旧势力。尽管他信政府在2006年的军事政变被推翻,过后所举行的选举仍然是亲他信的政党胜出,保皇派就再次发动黄衫军进行法西斯式示威,并通过非民主手段推翻新他信政党所领导的民选政府。
尽管红衫军开始于支持他信的民众,但是很快的就发展为一场超越他信的人民民主运动。红衫军当中有很多反对保皇派官僚精英统治集团霸权及争取民主的普通人民。很多红衫军成员都不是他信的支持者,他们是无法忍受通过非民选手段上台实行压榨人民政策的统治集团继续横行霸道下去。红衫军的主力是来自乡区的贫穷人民,也有很多城市贫民和工人阶级,他们争取的不只是民主,也包括了改变目前泰国不公的社会体制。因此,红衫军既是一场贫穷人民争取民主的运动,也是一场被压迫群众寻求解放、争取社会正义的运动。
红衫军于2009年4月遭到泰国军队的暴力镇压,但是却无法将整个运动压制下去,并于2010年3月以更浩大的声势震撼了曼谷的保皇派官僚精英统治集团。红衫军正面对的是装备精良的 庞大军事镇压机器,但是红衫军并不退缩,还准备抗争到底。红衫军可能会在新一轮的疯狂镇压中,被迫中断,甚至有红衫军领导准备跟军方撑腰的阿披实政府妥协,但是红衫军运动将不会那么容易平息,而且还可能会继续壮大,冲击整个泰国统治阶级的霸权。
红衫军的动员及抗争,向世人展示了这是一场由普通劳动人民所组成争取民主的草根群众运动。红衫军的抗争,揭露了一个事实,今天泰国社会危机的真正根源是阶级压迫。红衫军也揭露了当前军方支撑的政府之血腥残暴本质,这个政府不惜通过血腥残暴的镇压,以及践踏民主人权的方式,去维持其统治权力。
红衫军的抗争,让很多普通老百姓变成了人民运动的领导,红衫军纷纷在贫民社区组织起来,
平时被排斥在政治决策外的平民百姓得以积极参与在决定他们生活前途的政治动员中。很多平民也为了突破媒体的封锁而把自己变成互联网专家,发布来自民众的声音,去反击当权者对红衫军各种卑劣的抹黑。红衫军的抗争过程中,也打破了普通人民长久以来对国王顺从效忠的臣民思维,他们很清楚看到国王并不是站在人民的这一边。
红衫军不惧军方的镇压,挑战着国家暴力机器的权威,显示着民主运动并不会因为乱枪扫射就轻易倒下的。红衫军跟军方周旋的过程,也造成了警方和军方内部的分裂。很多底层的军警都倾向于同情红衫军,甚至有警员为了掩护受伤的红衫军示威者而向军方开枪还击。
红衫军所面对的挑战是艰巨的,这股来自基层群众的民主运动要如何坚持到底,肯定是充满着重重困阻。
阿披实政府、黄衫军、军方的真面目
โฉมหน้าแท้จริงของรัฐบาลนายอภิสิทธิ์, กองทัพเสื้อเหลือง, และฝ่ายกองทัพ
阿披实政府编造谎言指责有“恐怖分子”混在红衫军里头,派出狙击手和暗杀队在曼谷杀害平民百姓。被军方残酷杀害的人,包括了救护人员、记者,还有小孩。一部分的红衫军只能以自制的杀伤力有限的武器,去抵抗军队的火力强大的攻击。
通过非民主途径上台阿披实政府在连番疯狂镇压后,已经没有任何的合法性。今天的泰国政治局面是个死局。如果阿披实政府立刻宣布解散国会重新选举,并且颁布停火令,曼谷街头的暴力冲突将马上停止,而红衫军也会愿意撤离。阿披实已经没有任何理由去霸占着首相职位,除非他要成为军方撑腰的铁腕独裁者(事实上他已经表现为一个独裁者)。
跟红衫军对立的黄衫军,在最近一次的政治危机中粉末登场了一阵,以“杂色军”的姿态搞了几场拥护泰王、呼吁政府以强硬手段镇压红衫军的示威。黄衫军基本上就是官僚精英统治集团的乌合之众联盟,其成形主要原因是为了推翻威胁着保皇派保守势力集团利益的他信“新兴势力”。黄衫军为了维持官僚精英统治集团的霸权,不惜借助军事政变、践踏民主宪法、法西斯式动员等手段,阻扰泰国占大多数的穷人争取真正的民主和社会正义。也是狭隘民族主义者兼盲目爱国分子的黄衫军,甚至认为泰国的穷人“愚蠢”,所以不应该享有投票权。黄衫军在2006年军事政变后就称任务完成而作鸟兽散,在输掉选举后于2008年死灰复燃地进行法西斯式动员,却没有挨上军方的任何一颗子弹。黄衫军的基本诉求,就是埋葬泰国民主,剥夺占大多数的穷人们的投票权!
泰国军方在泰国的历史上可谓恶名昭彰。泰国军方于1932年开始就掌控国家大权,直到1973年的一场浴 血民主抗争后才被推翻。1973年至1976年间的短暂民主,被一场血腥的军事政变终结。1992年5月的人民起义,同样遭到军方的血腥镇压,军队在5月17-19日期间开枪杀死48人。军方于2009年4月开枪镇压红衫军,时隔一年后,再次向红衫军大开杀戒,而死伤人数更多。作为泰国官僚精英统治集团的有机组成部分,泰国军方也是出名贪污滥权,除了1973年、1976年、1992年、2009年、2010年对民主运动的血腥镇压,泰国军方也在泰南对穆斯林干下种种暴行,为“恐怖主义”煽风点火。事实上,泰国军方才是真正的恐怖分子。
การต่อสู้ต่อต้านจะยังคงมีต่อไป
有些人权团体要求冲突“双方”停止使用暴力。事实上,在当前泰国的危机中,只有维护官僚精英统治阶级的军队一方,使用极端的暴力去对付大部分手无寸铁的示威者。如果红衫军不以破烂的自制武器去自卫,被军方冷血屠杀的人将会更多。
这是已经一场阶级战争,一场官僚精英资本财团阶级为压制城乡贫穷劳动人民争取民主而发动的战争。泰国红衫军在争取民主、人民尊严和社会正义的斗争中,展现了令人动容的纪律、勇气及毅力,值得我们致以最庄严的敬意。
红衫军已经改变了泰国社会的政治面貌。如果红衫军运动能够透过人民力量去推翻反民主的官僚精英政府(而不是通过老掉牙的军事政变夺权),那将对泰国群众争取民主和社会正义的运动,起着重大的意义。红衫军很可能在这几天的疯狂镇压中遭遇沉重打击,但是这场 运动不会那么容易平息下去。参与这场运动的城乡劳动贫民,经历了这次有组织的动员及抗争,累积了相当重要的斗争经验,而在政治意识上也大大提升,是泰国未来群众运动的重要推动力。泰国人民争取民主与社会正义的路途仍然漫长且崎岖不平,但是已经有很多人用坚定的脚步走下去……