WeLoveOurKing
How to insert weloveking to you website

ทรงพระเจริญ

ขัตติยาอัด คอป แต่งนิทานโยนความผิดเสธ แดง 18 9 55

สถาบันกษัตริย์อยู่ได้ด้วยความจริง

ธงชัย วินิจจะกูล: Truth on Trial

สถาบันกษัตริย์ถึงเวลาต้องปรับตัว

ตุลาการผิดเลน !


ฟังกันให้ชัด! "นิติราษฎร์" ไขข้อข้องใจ ทุกคำถามกรณีลบล้างผลพวงรัฐประหาร





วิดีโอสอนการทำน้ำหมักป้าเช็ง SuperCheng TV ฉบับเต็ม 1.58 ชม.

VOICE NEWS

Fish




เพื่อไทย

เพื่อไทย
เพื่อ ประชาธิปไตย ขับไล่ เผด็จการ

Friday, December 19, 2008

Newsweek: Thailand's King May Play Politics (No Offense)

ที่มา Thai E-News


Newsweek
Wednesday, December 17, 2008 9:37 AM

Bangkok -- If you happened to have been in Thailand this week and wanted to read the December 6-10 issue of The Economist, you could have searched the country without finding a copy. That’s because it contained an article and editorial that were critical of King Bhumibol Adulyadej. Rather than risk insulting the king and offending his subjects, Asia Books, which imports the British weekly, chose not to distribute that particular edition.

The pre-emptive move was a sign of respect for the king but also an act of self-preservation. Few people or organizations in Thailand will risk doing anything that might be construed as an insult to the monarch. Thailand’s lese- majeste law may be the most draconian in the world, and it is strongly enforced: Offenders face up to 15 years in jail. Foreigners have been jailed for months and then expelled from the country. The riposte from friendly Thais to a farang contemplating a violation of the law is, “I hope you don’t plan to ever return to Thailand.”

The Economist, writing about Thailand’s current political imbroglio, alleges that the king, who turned 81 earlier this month, plays a role in politics. Officially, the sovereign, as head of state in a constitutional monarchy, is above politics. That alleged involvement, the magazine argues, is not helpful--especially in this time of political instability. Ever since the military ousted Prime Minister Thaksin Shinawatra in a bloodless coup in September 2006, the country has staggered from one government to the next. Just this week Parliament selected the fourth prime minister since the coup. Few people are willing to bet that the new premier, Abhisit Vejjajiva, of the Democrat Party, will last much longer that his immediate predecessor, Somchai Wongsarat, who hung on for 77 days.

Members of the royal family are said to be dismayed about the magazine’s stories, which get into controversial areas last visited in “The King Never Smiles,” a 2006 unauthorized biography by freelance writer Paul M. Handley. The book, banned in Thailand before it was even published, makes similar allegations about the monarchy. “The concern is the myth of a conspiracy between the king and the military,” says an individual with links to the Palace who spoke only on condition of anonymity and because he believes the articles are unfair. People in the king's inner circle “are genuinely distressed, because this fosters the ideas of conspiracy theorists.”

The Economist, the source pointed out, was not banned by the government. There was no need to do so because distributor acted voluntarily to withhold the offending edition. In the age of the Internet, banning publications anywhere is a tricky–and often futile–proposition, apart from in countries like China, Burma and North Korea, which tightly control acces to the Web. “Banning a magazine doesn’t make much sense any more, because it gets through – and they know that,” the source said, referring to the Palace. The Economist argues that the lese-majeste law should be revisited. For now, no such plans are on the drawing board.

แปลเป็นไทยโดย Creepy- เว็บบอร์ดฟ้าเดียวกัน

นิวส์วีค: กษัตริย์ของไทยอาจทรงเล่นกับการเมือง (บทความไม่มีเจตนาไม่ดี)

กรุงเทพ – ถ้าคุณอยู่ที่ประเทศไทยในตอนนี้และต้องการจะอ่านนิตยสาร The Economist ฉบับประจำวันที่ 6-10 ธันวาคม คุณอาจจะต้องหาทั้งประเทศแต่ไม่พบสักเล่มเดียว นั่นเป็นเพราะว่านิตยสารดังกล่าวมีบทความและบทบรรณาธิการวิพากษ์วิจารณ์กษัตริย์ภูมิพล อดุลยเดช ทางเอเชียบุ๊คส์ได้ตัดสินใจระงับการจัดจำหน่านนิตยสารฉบับประจำวันดังกล่าว ดีกว่าจะเสี่ยงกับการหมิ่นพระบรมเดชานุภาพและทำร้ายความรู้สึกพสกนิกรของพระองค์

การดำเนินการดังกล่าวเป็นการแสดงออกถึงการเคารพกษัตริย์และการรู้รักษาตัวรอด มีคนหรือองค์กรจำนวนน้อยที่จะเสี่ยงต่อการทำสิ่งที่อาจหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ กฎหมายหมิ่นพระบรมเดชานุภาพน่าจะเป็นกฎหมายที่รุนแรงที่สุดในโลก และมีการบังคับใช้อย่างเข้มงวด ผู้กระทำความผิดจะต้องถูกจำคุกไม่เกิน 15 ปี ชาวต่างชาติเคยถูกจำคุกหลายเดือนก่อนจะถูกขับออกนอกประเทศ คนไทยที่มีใจเป็นมิตรเตือนฝรั่งที่คิดจะละเมิดกฎหมายว่า “ฉันหวังว่าคุณจะไม่คิดกลับมาเมืองไทยอีก”

The Economist เขียนถึงปัญหาความวุ่นวายทางการเมืองของไทย กล่าวหากษัตริย์ซึ่งจะมีพระชนมายุ 81 พรรษา ในเร็วๆนี้ ว่า มีบทบาททางการเมือง ในทางการแล้ว ประมุขของประเทศนี้ซึ่งปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข จะทรงอยู่เหนือการเมือง การเข้ามาเกี่ยวข้องตามที่กล่าวหานั้น ทางนิตยสารเห็นว่าไม่ได้ช่วยอะไร โดยเฉพาะอย่างยิ่งในยามที่การเมืองคลอนแคลนอย่งนี้ นับแต่ทหารได้ทำการปฏิวัตินายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตร โดยไม่เสียเลือดเนื้อในเดือนกันยายนปี 2549 ประเทศนี้ได้เปลี่ยนรัฐบาลอย่างทุลักทุเล ในสัปดาห์หน้านี้รัฐสภาก็ได้เลือกนายกรัฐมนตรีคนที่สี่นับแต่การปฏิวัติ มีคนจำนวนน้อยที่จะพนันว่ารัฐบาลของอภิสิทธิ์ นายกรัฐมนตรีคนใหม่จากประชาธิปัตย์จะอยู่ได้นานกว่ารัฐบาลชุดก่อน คือรัฐบาลของสมชาย วงศ์สวัสดิ์ ซึ่งอยู่ได้ 77 วัน หรือไม่

สมาชิกในราชวงศ์ปฏิเสธเรื่องในนิตยสารดังกล่าว ซึ่งทำให้เกิดการโต้เถียงครั้งใหม่ในประเด็นที่หนังสือ “กษัตริย์ไม่เคยแย้มพระสรวล” หนังสืออัตชีวประวัติที่ไม่ได้รับอนุญาต ปี 2549 โดยนักเขียนอิสระ Paul M. Handley ซึ่งถูกสั่งห้ามก่อนการตีพิมพ์เสียอีก ได้กล่าวหากษัตริย์อย่างเดียวกัน “ความกังวลอยู่ที่ตำนานการคบคิดกันระหว่างกษัตริย์กับทหาร” เป็นคำกล่าวของผู้เกี่ยวข้องกับราชวงศ์ซึ่งไม่ประสงค์จะเปิดเผยนาม และเพราะว่าเขาเชื่อว่าเรื่องดังกล่าวนั้นไม่เป็นธรรม ผู้ใกล้ชิดกษัตริย์รู้สึก “เศร้าใจจริงๆ เพราะมันสนับสนุนความคิดเกี่ยวกับทฤษฎีการสมคบคิด”

แหล่งข่าวชี้ว่า รัฐบาลไม่ได้ห้ามนิตยสาร The Economist ผู้จัดจำหน่ายสมัครใจที่จะเก็บฉบับที่ผิดกฎหมายนั้นไว้เอง ในยุคอินเตร์เน็ต การสั่งห้ามหนังสือไม่ว่าที่ไหนก็คือการโกงและมักไร้ประโบชน์ ทั้งนี้ไม่นับประเทศที่ควบคุมการเข้าอินเตอร์เน็ตอย่างเข้มงวดอย่าง จีน พม่า และเกาหลีเหนือ “คำสั่งห้ามนิตยสารไม่ได้เข้าท่าแม้แต่น้อย เพราะมันเข้าไปอ่านได้ และพวกเขาก็รู้” แหล่งข่าวกล่าวถึงราชวัง The Economist เห็นว่าสมควรจะมีการทบทวนกฎหมายหมิ่นพระบมเดชานุภาพ จนถึงขณะนี้ก็ยังไม่มีการวางแผนเช่นนั้น